ชื่อเรื่อง | : | วิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ |
นักวิจัย | : | สุรเดช ดวงภุมเมศ , ถนัด เหลืองนฤทัย , ปณิธิ ศิรอักษร , จตุรวิทย์ จันไพบูลย์ , พาทิน พงคะชา , ปณิธิ พุ่มวิเศษ , นพพงษ์ ไกรฤกษ์ , พิพล บุญจันต๊ะ , Suradech Doungpummet , Thanud Laungnarutai , Panithi Sira-uksorn , Jaturawit Janpaiboon , Patin Pongkacha , Paniti Pumviset |
คำค้น | : | Automobile industry and trade , Automobiles , Automotive engineering , Automotive industry and trade , Engineering and technology , รถยนต์ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ , สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย , อุตสาหกรรมรถยนต์ |
หน่วยงาน | : | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ |
ผู้ร่วมงาน | : | - |
ปีพิมพ์ | : | 2552 |
อ้างอิง | : | http://www.nstda.or.th/thairesearch/node/4918 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | จากการที่รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนาและสนับสนุน อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย ซึ่งประเทศไทยได้เปรียบในเรื่องที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ โดยให้เป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์แห่งเอเชีย (Detroit of Asia) เมื่อเดือนเมษายน 2547 จะเห็นว่าอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยมีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งใน ด้านการผลิต การส่งออกและการลงทุน แต่การพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของไทยต้องพึ่งพาเทคโนโลยีการ ผลิต ออกแบบ และการลงทุนจากต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้เนื่องจากที่ประเทศไทยไม่มีเทคโนโลยีเป็นของตนเอง ไม่มีสถาบันการศึกษาเฉพาะด้านอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ ขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะความรู้ความสามารถทางด้านการวิจัยพัฒนา การทดสอบ ออกแบบผลิตภัณฑ์จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ เพื่อช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ ยุทธศาสตร์ระยะยาวเป็นการสะสมและพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์เชื้อเพลิงทดแทนของประเทศ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของยานยนต์ไปสู่พลังงานทดแทนในอนาคตอันใกล้ เช่น ยานยนต์เชื้อเพลิงชีวภาพ ยานยนต์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ยานยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือยานยนต์ไฮบริดจ์ มีวัตถุประสงค์ชัดเจนในการเปลี่ยนตำแหน่งของประเทศจากผู้รับเทคโนโลยีเป็นผู้สร้างเทคโนโลยี กลยุทธ์หลักที่เลือกใช้ คือ การเปลี่ยนองค์ความรู้(knowhow)ของนักวิจัยและผู้เกี่ยวข้องไปเป็นซอฟท์แวร์ โดยเฉพาะการจำลองสถานะการณ์(simulation)ต่างๆของเครื่องยนต์ ร่วมกับความสามารถของห้องทดสอบเพื่อตอบคำถามต่างๆให้กับอุตสาหรรมยานยนต์ของประเทศ โดยมีพันธมิตรที่สำคัญคือ สถาบันยานยนต์ และเครือข่ายผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และผู้ผลิตยานยนต์ในประเทศ |
บรรณานุกรม | : |
สุรเดช ดวงภุมเมศ , ถนัด เหลืองนฤทัย , ปณิธิ ศิรอักษร , จตุรวิทย์ จันไพบูลย์ , พาทิน พงคะชา , ปณิธิ พุ่มวิเศษ , นพพงษ์ ไกรฤกษ์ , พิพล บุญจันต๊ะ , Suradech Doungpummet , Thanud Laungnarutai , Panithi Sira-uksorn , Jaturawit Janpaiboon , Patin Pongkacha , Paniti Pumviset . (2552). วิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์.
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. สุรเดช ดวงภุมเมศ , ถนัด เหลืองนฤทัย , ปณิธิ ศิรอักษร , จตุรวิทย์ จันไพบูลย์ , พาทิน พงคะชา , ปณิธิ พุ่มวิเศษ , นพพงษ์ ไกรฤกษ์ , พิพล บุญจันต๊ะ , Suradech Doungpummet , Thanud Laungnarutai , Panithi Sira-uksorn , Jaturawit Janpaiboon , Patin Pongkacha , Paniti Pumviset . 2552. "วิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์".
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. สุรเดช ดวงภุมเมศ , ถนัด เหลืองนฤทัย , ปณิธิ ศิรอักษร , จตุรวิทย์ จันไพบูลย์ , พาทิน พงคะชา , ปณิธิ พุ่มวิเศษ , นพพงษ์ ไกรฤกษ์ , พิพล บุญจันต๊ะ , Suradech Doungpummet , Thanud Laungnarutai , Panithi Sira-uksorn , Jaturawit Janpaiboon , Patin Pongkacha , Paniti Pumviset . "วิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์."
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2552. Print. สุรเดช ดวงภุมเมศ , ถนัด เหลืองนฤทัย , ปณิธิ ศิรอักษร , จตุรวิทย์ จันไพบูลย์ , พาทิน พงคะชา , ปณิธิ พุ่มวิเศษ , นพพงษ์ ไกรฤกษ์ , พิพล บุญจันต๊ะ , Suradech Doungpummet , Thanud Laungnarutai , Panithi Sira-uksorn , Jaturawit Janpaiboon , Patin Pongkacha , Paniti Pumviset . วิจัยและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ; 2552.
|