ปี พ.ศ. 2555 |
1 |
การก่อเกิดและการควบคุมไบโอฟิล์มของ Vibrio parahaemolyticus บนผิวเหล็กกล้าไร้สนิม |
2 |
เอกโซพอลิแซ็กคาไรด์จากแล็กติกแอซิดแบคทีเรียและการประยุกต์ในน้ำสลัด |
ปี พ.ศ. 2554 |
3 |
โปรตีนไฮโดรไลเซทจากโครงปลานิล และปลากะพง: สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และยับยั้งการทำงานของเอซีอี |
ปี พ.ศ. 2552 |
4 |
ระดับโปรตีนที่เหมาะสมในอาหารสำเร็จสำหรับเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina linnaeus, 1758 ในระบบทดลองทางโภชนาการ |
5 |
การเกิดคราบของจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค และการควบคุมการแพร่กระจายจุลินทรีย์บนพื้นผิวสัมผัสอาหาร |
ปี พ.ศ. 2551 |
6 |
โครงการวิจัยเรื่อง การเกิดคราบของจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคและการควบคุมการแพร่กระจายจุลินทรีย์บนพื้นผิวสัมผัสอาหาร : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
7 |
การเกิดและการควบคุมไบโอฟิล์มของ Salmonella บนพื้นผิวเหล็กสแตนเลส |
ปี พ.ศ. 2550 |
8 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมแพะสู่ชุมชน : การศึกษาสมบัติพื้นฐานทางด้านเคมี กายภาพ และจุลชีววิทยา ของน้ำนมแพะจากแหล่งต่างๆ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
9 |
โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาศักยภาพเชิงอุตสาหกรรม การใช้ประโยชน์ และการเพิ่มมูลค่าพืชและวัสดุเหลือใช้จากแหล่งการเพาะปลูกจังหวัดน่าน : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
10 |
ผลของโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ โซเดียมเฮกซะเมตาฟอสเฟต และกรดซิตริกต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina L. บรรจุกระป๋อง |
11 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากหอยเป๋าฮื้อโดยใช้เทคโนโลยีการแปรรูปและการบรรจุ |
12 |
การผลิตหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina L. แช่เยือกแข็งแบบไครโอจีนิก |
13 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากหอยเป๋าฮื้อ โดยใช้เทคโนโลยีการแปรรูปและการบรรจุ |
ปี พ.ศ. 2549 |
14 |
ผลของการอบแห้งต่อสมบัติทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina linnaeus |
ปี พ.ศ. 2548 |
15 |
การยืดอายุการเก็บหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina Linnaeus โดยการปรับสภาพบรรยากาศภายในภาชนะบรรจุ |
16 |
การดัดแปรแป้งข้าวที่มีปริมาณแอมีโลสต่างกันด้วยกรดเพื่อทดแทนไขมันในน้ำสลัด |
17 |
ผลของพันธุ์และระดับการขัดสีข้าวต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีระหว่างการหมักไวน์ข้าว |
18 |
การใช้โปรติเอสในการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสตจากหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina Linnaeus |
ปี พ.ศ. 2547 |
19 |
การใช้วิธีทำให้เข้มข้นในการผลิตไวน์หม่อน (Morus alba L.) |
20 |
การปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon ที่ตลาดกลางกุ้งจังหวัดสมุทรสาครโดยโอโซน |
21 |
อัตราส่วนของพลังงานต่อโปรตีนที่เหมาะสมในอาหารสำเร็จสำหรับหอยเป๋าฮื้อ Haliotis asinina Linnaeus |
22 |
ผลของสตาร์ชไฮโดรไลเสตต่อการคืนตัวของแป้งข้าวเจ้า |
ปี พ.ศ. 2546 |
23 |
ราและอะฟลาทอกซินในน้ำพริกแกงและเครื่องเทศที่เป็นองค์ประกอบ |
24 |
ผลของกระบวนการให้ความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อต่อองค์ประกอบทางเคมีและเนื้อสัมผัสของหอยเป๋าฮื้อชนิด Haliotis asinina และ Haliotis ovina |
25 |
การใช้ไคโตซาน พีเอส และวอเตอร์แอคติวิตี เป็นเฮอร์เดิลในการยืดอายุการเก็บน้ำพริกแกง |
26 |
สมบัติทางกายภาพของฟิล์มโปรตีนละลายน้ำได้จากปลาที่ดัดแปรด้วยไดอัลดีไฮด์สตาร์ชและไขผึ้ง |
27 |
โครงการสำรวจปัญหาในการแปรรูป การกระจายและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์นม |
ปี พ.ศ. 2545 |
28 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตสปาร์คลิงไวน์หม่อน Morus alba L. โดยวิธีหมักในขวด |
29 |
การผลิตและการเก็บรักษาฟิล์มบริโภคได้จากโปรตีนละลายน้ำจากปลาทรายแดง |
ปี พ.ศ. 2544 |
30 |
การเลียนแบบกลิ่นรสเนื้อโดยใช้ยีสต์ออโตไลเสท เพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารมังสวิรัติ |
31 |
การตรวจสอบการปนเปื้อนของสุกรในอาหารโดยเทคนิคการตรวจสอบดีเอ็นเอ |
ปี พ.ศ. 2543 |
32 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักและกลิ่นของผักกาดเขียวปลี Brassica juncae L. ดอง |
33 |
การตรึงเอนไซม์แซนทีนออกซิเดสเพื่อใช้วัดความสดของปลา |
34 |
การนำกระดูกปลาโอแถบ Katsuwonus pelamis มาใช้เป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารว่าง |
ปี พ.ศ. 2542 |
35 |
การพัฒนาอาหารเช้าพร้อมบริโภคอัดแท่งจากธัญพืช |
36 |
การผลิตหอยแมลงภู่ (Perna viridis Lin.) แช่เยือกแข็งแบบลมเย็น และแบบไครโอจินิค |
ปี พ.ศ. 2540 |
37 |
การผลิตโดขนมปังแช่เยือกแข็ง |
38 |
ปัจจัยที่มีผลในการหมักและการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีระหว่างการบ่มไวน์หม่อน |
39 |
การสกัดและสมบัติทางโภชนาการและการใช้งานของโปรตีนเข้มข้น จากใบยาสูบ |
ปี พ.ศ. 2539 |
40 |
เครื่องดื่มโปรตีนไฮโดรไลเซตจากกากถั่ว |
41 |
ไวน์น้ำผึ้งผสมมะเกี๋ยงและการเปลี่ยนแปลงของไวน์ระหว่างการหมักและบ่มโดยใช้ยีสต์บางสายพันธุ์ |
42 |
การผลิตไวน์ข้าวเหนียวดำโดยการหมักด้วยเชื้อบริสุทธิ์ |
43 |
การผลิตและการประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ไข่เหลวที่ลดคอเลสเทอรอล |
ปี พ.ศ. 2538 |
44 |
การผลิตไส้กรอกอิมัลชันจากปลาสวายและปลานิล |
45 |
การผลิตนมเปรี้ยวพร้อมดื่มผสมน้ำผึ้งและรอยัลเยลลี |
46 |
วิธีรวดเร็วในการประมาณจำนวนแบคทีเรียทั้งหมด ที่สร้างเอนไซม์คะตะเลสในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon Fabricius สด |
47 |
เครื่องดื่มจากน้ำผัก-ผลไม้ผสมนมผึ้ง |
ปี พ.ศ. 2537 |
48 |
การยึดอายุการเก็บไส้กรอกเวียนนาโดยใช้กรดแลคติค |
49 |
การผลิตไวน์น้ำผึ้งผลไม้จากวัตถุดิบทางการเกษตรบางชนิดในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2535 |
50 |
การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากน้ำนึ่งปลาทูน่า เพื่อใช้เป็นสารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร |
ปี พ.ศ. 2534 |
51 |
การถนอมรักษารอยัลเยลลีโดยการแช่แข็งและการทำแห้งเยือกแข็ง |
52 |
การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากเลือดเพื่อใช้ในอาหารสัตว์น้ำ |
ปี พ.ศ. 2532 |
53 |
สุขลักษณะของอาหารพร้อมบริโภคที่จำหน่ายในเขตบางกะปิ |
ปี พ.ศ. 2531 |
54 |
การสกัดแอลจิเนตจากสาหร่ายทะเลสีน้ำตาลบางสกุลในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2529 |
55 |
การปรับปรุงกรรมวิธีอบแห้ง คุณภาพและความสามารถในการดูดน้ำคืนของปลาหมึกกระดองแห้ง |