ชื่อเรื่อง | : | การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง |
นักวิจัย | : | สุเทพ อมรรังสิโรจน์ |
คำค้น | : | กำมะถัน , อนุภาค |
หน่วยงาน | : | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ผู้ร่วมงาน | : | เพียรพรรค ทัศคร , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
ปีพิมพ์ | : | 2540 |
อ้างอิง | : | 9746379968 , http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9314 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 การลดขนาดเม็ดกำมะถันโดยใช้น้ำเป็นตัวกลาง เพื่อป้องกันการระเบิดที่อาจเกิดขึ้น พบว่าขนาดเฉลี่ยเม็ดกำมะถันและอัตราจำเพาะของการแตกทั้งก้อนลดลงอย่างรวดเร็วใน 15 นาทีแรก และช้าลงในช่วงเวลาถัดไปจนถึง 90 นาที ทั้งในเครื่องบดแบบใช้ลูกบดและในถังกวนที่ใช้ใบกวนอัตราเฉือนสูง โดยเม็ดกำมะถันขนาด 11, 6 และ 3 มิลลิเมตร จะแตกได้เป็นเม็ดกำมะถันขนาด 1.2, 0.4 และ 0.07 มิลลิเมตร โดยเครื่องกวนอัตราเฉือนสูงทำงานได้ดีกว่าเครื่องบดแบบใช้ลูกบด เพราะใช้พลังงานไฟฟ้าต่อน้ำหนักกำมะถันขนาดเฉลี่ยเม็ดกำมะถันที่ได้น้อยกว่า การบดด้วยเครื่องบดแบบใช้ลูกบด การเฉือนในถังกวนที่ค่าพลังงานมอเตอร์ต่อปริมาตรของไหล 8.8 กิโลวัตต์ต่อลูกบาศก์เมตร เพียงพอต่ออัตราส่วนโดยน้ำหนักกำมะถันต่อน้ำถึง 0.5 เพื่อได้เม็ดกำมะถันขนาดต่ำกว่า 0.4 มิลลิเมตร โดยสามารถทำนายสัดส่วนน้ำหนักกำมะถันที่เวลา 15 นาทีแรก สำหรับช่วงค่า 0 |
บรรณานุกรม | : |
สุเทพ อมรรังสิโรจน์ . (2540). การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเทพ อมรรังสิโรจน์ . 2540. "การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง".
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเทพ อมรรังสิโรจน์ . "การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง."
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. Print. สุเทพ อมรรังสิโรจน์ . การแตกของเม็ดกำมะถันโดยใช้เครื่องกวนอัตราเฉือนสูง. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2540.
|