ปี พ.ศ. 2554 |
1 |
การผลิตเอทานอลจากตะกอนน้ำเสียโรงงานเยื่อกระดาษโดยใช้เอนไซม์เซลลูเลส และ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5339 |
ปี พ.ศ. 2552 |
2 |
การนำของเสียประเภทฉลากพลาสติกมาใช้ประโยชน์ในการทำคอนกรีตเบา |
3 |
การนำของเสียประเภทฉลากพลาสติกมาใช้ประโยชน์ในการทำคอนกรีตเบา |
ปี พ.ศ. 2551 |
4 |
การนำของเสียประเภทฉลากมาใช้ประโยชน์ในการทำคอนกรีตบล็อกประสานปูพื้นโดยใช้ผงหินปูน-ปูนซีเมนต์เป็นวัสดุประสาน |
5 |
การกำจัดสีเบสิกโดยใช้เส้นใยปาล์มที่ผ่านการปรับสภาพ |
6 |
การนำของเสียประเภทฉลากมาใช้ประโยชน์ ในการทำคอนกรีตบล็อกประสานปูพื้น โดยใช้ผงหินปูน-ปูนซีเมนต์เป็นวัสดุประสาน |
7 |
การกำจัดสีเบสิกโดยใช้เส้นใยปาล์มที่ผ่านการปรับสภาพ |
ปี พ.ศ. 2549 |
8 |
การกำจัดสีในน้ำทิ้งจากโรงงานฟอกย้อมสิ่งทอโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และของเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ |
9 |
การกำจัดสีของน้ำเสียจากการฟอกเยื่อของโรงงานเยื่อกระดาษโดยใช้โซเดียมโบโรไฮไดรด์ |
10 |
การประเมินศักยภาพการนำกากตะกอนอุตสาหกรรมมาใช้ประโยชน์ โดยการทดสอบการชะละลายโลหะหนัก |
ปี พ.ศ. 2548 |
11 |
การพัฒนาคุณภาพของกระเบื้องเซรามิกที่ผลิตจากของเสียที่เป็นแก้ว |
ปี พ.ศ. 2547 |
12 |
การสกัดแอนทราควิโนนจากซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วโดยแอทานอล เมทานอล และ ไอโซโพรพานอล |
13 |
การนำกลับทองแดงจากน้ำเสียโรงงานชุบโลหะโดยวิธีสกัดด้วยตัวทำละลาย |
14 |
การกำจัดสีหมู่อะโซชนิดไดเรกท์ และรีแอคทีฟด้วยโซเดียมโบโรไฮไดรด์ |
ปี พ.ศ. 2546 |
15 |
การนำซิลิกา-อะลูมินาและชานอ้อยที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์ในการทำคอนกรีตบล็อก |
16 |
การบำบัดน้ำเสียกากส่าโดยใช้ระบบแอนแอโรบิกไฮบริดฟิลเตอร์ที่มีถังหมักกรดนำ |
17 |
การนำกากของเสียจากการเคลือบสีรถยนต์มาใช้ทำคอนกรีตบล็อก |
18 |
การกำจัดสีน้ำกากส่าระหว่างการใช้โพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ร่วมกับแกลบเผา หรือซิลิกาอะลูมินา หรือเถ้าลอย |
19 |
การนำซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วไปใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตคอนกรีตบล็อก |
ปี พ.ศ. 2545 |
20 |
ผลของสารอาหารปฐมภูมิต่อการกำจัดสีในน้ำกากส่า ด้วยระบบแอนแอโรบิกไฮบริดยูเอเอสบี |
21 |
การกำจัดสีรีแอกทีฟหมู่อะโซด้วยโซเดียมโบโรไฮไดรด์ |
22 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่เตรียมจากต้นมันสำปะหลัง ใบสับปะรด และกาบมะพร้าว |
23 |
ประสิทธิภาพในการกำจัดสีจากน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วจากโรงงานฟอกย้อมของควอเทอร์ไนซ์ครอสลิงค์เซลลูโลสที่เตรียมจากเส้นใยลูกปาล์ม |
24 |
การนำกลับนิกเกิลจากน้ำเสียโรงงานชุบเคลือบโลหะโดยวิธีสกัดด้วยตัวทำละลาย |
25 |
การกำจัดสีในน้ำเสียโดยใช้ควอเทอร์ไนซ์ครอสส์ลิงค์เซลลูโลสที่เตรียมจากซังข้าวโพด เปลือกถั่วเหลือง และก้านทานตะวัน |
26 |
การนำซิลิกา - อะลูมินาที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์เป็นตัวทนไฟในการทำเซรามิก |
27 |
การนำซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์เป็นตัวทนไฟ ในการทำเซรามิก |
ปี พ.ศ. 2544 |
28 |
การกำจัดสีในน้ำเสียโดยใช้ควอร์เทอร์ไนซ์ครอสส์ลิงก์เซลลูโลส จากต้นมันสำปะหลัง ใบสับปะรด และกาบมะพร้าว |
ปี พ.ศ. 2543 |
29 |
การระเหยน้ำชะมูลฝอยโดยใช้ก๊าซที่เกิดจากหลุมฝังกลบขยะ |
ปี พ.ศ. 2542 |
30 |
การนำซิลิกา-อลูมินาที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์ในการทำวัสดุปูพื้น |
31 |
การเปรียบเทียบการทำเสถียรตะกอนที่มีนิกเกิลด้วยปูนขาวและการทำให้เป็นก้อนด้วยปูนขาวผสมเถ้าลอยลิกไนต์ |
32 |
การบำบัดน้ำเสียความเข้มข้นสูงด้วยถังกรองไร้อากาศชนิดไฮบริดที่ใช้ตัวกลางพลาสติกโพลีเอทธิลีน |
ปี พ.ศ. 2541 |
33 |
การนำซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แลัวและปรอทซัลไฟด์ มาทำให้เเป็นก้อนด้วยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ |
34 |
การสกัดนิกเกิลออกจากกากตะกอนนิกเกิลไฮดรอกไซด์โดยใช้แบคทีเรีย |
ปี พ.ศ. 2540 |
35 |
การกำจัดไอออนโลหะหนักจากน้ำเสียซีโอดีด้วยกระบวนการเฟอร์ไรต์ |
36 |
การบำบัดน้ำเสียความเข้มข้นสูงด้วยถังกรองไร้อากาศ ที่มีตัวกลางเม็ดพลาสติกลอยน้ำ |
ปี พ.ศ. 2539 |
37 |
ความคุ้มค่าของการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่สำหรับอาคารสูง โดยการกรองตรง หรือการดูดติดผิว หรือการกรองด้วยแผ่นเยื่อกรอง |
38 |
การกำจัดสังกะสีและนิกเกิลในน้ำเสียสังเคราะห์ ด้วยตัวกลางทรายเคลือบออกไซด์ ของเหล็กและแมงกานีส |
39 |
การทำตะกอนโลหะหนักซัลไฟด์ให้เป็นก้อนโดยใช้ปูนซีเมนต์และเถ้าลอยลิกไนต์เป็นตัวประสาน |
ปี พ.ศ. 2538 |
40 |
การสกัดสังกะสีออกจากแร่สังกะสีซัลไฟด์โดยใช้เชื้อ Thiobacillus ferrooxidans ชนิดผ่านและไม่ผ่านการไลโอฟิไลช์ |
41 |
การทำตะกอนโลหะหนักจากกระบวนการบำบัดน้ำเสียซีโอดีให้เป็นก้อน ด้วยปูนซีเมนต์และเถ้าลอยลิกไนต์ |
42 |
การกำจัดโลหะหนักของเรซินแลกเปลี่ยนไอออนชนิดซัลโฟเอทีล และครอสส์ลิ้ง-แซนเทตที่ทำจากผักตบชวา |
43 |
การนำโลหะนิกเกิลกลับมาใช้ใหม่โดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่ทำจากผักตบชวา |
ปี พ.ศ. 2537 |
44 |
การกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่ทำจากวัสดุเหลือทั้งทางการเกษตร : รายงานผลงานวิจัย |
45 |
การใช้ thiobacillus ferrooxidans สกัดโลหะซัลไฟด์ออกจากกากตะกอน |
46 |
การนำโลหะนิกเกิลในน้ำเสียจากการชุบโลหะกลับมาใช้ใหม่ โดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน |
47 |
แนวทางการจัดการน้ำเสียซีโอดี ในเขตกรุงเทพมหานคร |
48 |
การกำจัดโลหะหนักโดยการใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่ทำจากชานอ้อยและผักตบชวา |