ปี พ.ศ. 2556 |
1 |
การบรรยายฟ้องในคดีอาญา : ศึกษาปัญหาฟ้องที่ไม่สมบูรณ์ตามแนวคำพิพากษาของศาลไทย |
2 |
การรับโทษหนักขึ้น : ศึกษากรณีการล่วงละเมิดทางเพศของผู้มีอำนาจบังคับบัญชากระทำต่อผู้ใต้บังคับบัญชา |
3 |
การลดวันต้องโทษจำคุก : ศึกษาเปรียบเทียบในระบบกฎหมายไทยกับฝรั่งเศส |
ปี พ.ศ. 2555 |
4 |
ความเหมาะสมในการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ |
5 |
ผลผูกพันทางกฎหมายของเหตุผลในคำพิพากษาคดีแพ่ง |
6 |
ขอบเขตการให้ข้อมูลข่าวสารในชั้นเจ้าพนักงานและชั้นศาล กับสิทธิของผู้ถูกกล่าวหา |
7 |
หลักความเป็นอิสระในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน : |
8 |
ศาลพิจารณากับการสืบพยานลับหลังจำเลย |
9 |
ปัญหาการห้ามรับฟังพยานบอกเล่า ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 |
10 |
การปฎิบัติต่อจำเลยระหว่างพิจารณาคดี : |
11 |
ความเป็นภาวะวิสัยของพนักงานอัยการศึกษาเปรียบเทียบกฏหมายไทยและฝรั่งเศส |
12 |
การกำหนดความผิดเกี่ยวกับการอุ้มหาย |
13 |
ความเป็นอิสระภาพในการรับฟังพยานหลักฐานกับบทบัญญัติ มาตรา 226 |
14 |
การรับฟังพยานบอกเล่ากับปัญหาการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน |
15 |
การดำเนินคดีอาญาโดยพนักงานเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร |
16 |
เหตุตัดอำนาจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา : |
ปี พ.ศ. 2554 |
17 |
การเปิดเผยพยานหลักฐานของฝ่ายรัฐในชั้นศาล |
18 |
การฟ้องคดีในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 |
19 |
การกลั่นกรองคดีก่อนการประทับฟ้อง : |
20 |
การคุ้มครองพยาน: ศึกษาการสืบพยานบุคคลโดยไม่เผชิญหน้าจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาอาญามาตรา 172 วรรคสาม |
21 |
การตั้งทนายให้แก่ผู้ถูกฟ้องในชั้นประทับฟ้องคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ |
22 |
บทบาทของศาลอุธรณ์ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงในคดีอาญา |
ปี พ.ศ. 2553 |
23 |
การสืบพยานต่อหน้าจำเลย : ศึกษาเหตุยกเว้นกรณีการสืบพยานบุคคลก่อนฟ้องคดีต่อศาล |
24 |
ความรับผิดทางอาญากรณีใช้สิ่งเทียมอาวุธปืนกระทำความผิด : เปรียบเทียบกับการกระทำความผิดโดยใช้อาวุธปืน |
25 |
อำนาจรัฐกับการดำเนินคดีอาญาของผู้เสียหาย |
26 |
อำนาจดำเนินคดีอาญาของผู้เสียหายในความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ : ศึกษาเฉพาะคดีที่ขึ้นศาลยุติธรรมปกติ |
27 |
การไม่รับฟังพยานหลักฐานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 226/1 / |
28 |
การค้นหาความจริงและคุ้มครองผู้เสียหายหรือพยานที่เป็นเด็กในชั้นสอบสวน |
29 |
ขอบเขตและวิธีพิจารณาความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล |
30 |
ระบบการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับคำสั่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการ |
31 |
ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2542 |
32 |
การนำตัวผู้ถูกกล่าวหาคดีอาญาออกแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ในระบบกฎหมายไทย |
33 |
อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานพินิจกับการดำเนินคดีอาญาเด็กและเยาวชน |
34 |
มาตรการลงโทษพระภิกษุสงฆ์ในกฎหมายอาญา: ศึกษากรณีความผิดเกี่ยวกับเพศ |
35 |
บทบาทของพนักงานอัยการในการอุทธรณ์ฎีกา |
36 |
ปัญหาในการเปรียบเทียบคดี : |
37 |
ปัญหาการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม |
38 |
การแสวงหาพยานหลักฐานในคดียาเสพติดโดยการใช้เทคนิคการสืบสวนสอบสวนพิเศษ |
39 |
ระบบต่อสู้กับการดำเนินคดีอาญาในศาลไทย : |
40 |
ขอบเขตของการพิจารณาคดีอาญาโดยเปิดเผย |
41 |
อำนาจศาลยุติธรรมในการกำจัดสิทธิอุทธรณ์ฎีกา : ศึกษากรณีระเบียบที่ประชุมใหญ่ศาลฎกาว่าด้วยการไม่รับคดี ซึ่งข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงที่อุทธรณ์ หรือฎีกาจะไม่เป็นสาระอันควรแก่การพิจารณาพิพากษา พ.ศ. 2551 |
ปี พ.ศ. 2552 |
42 |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยการจัดการงบประมาณขององค์การมหาชน |
43 |
บทบาทและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ต่อการแก้ไขปัญหาการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวม |
44 |
การนำเสนอข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชน์ แก่ผู้ถูกกล่าวหาเข้าสู่คดีอาญา |
45 |
การขัดกันของหน้าที่กับกระบวนการยุติธรรมในชั้นเจ้าพนักงาน |
46 |
การหยุดนับอายุความ : ศึกษากรณีผู้กระทำความผิดหลบหนี |
47 |
อำนาจดำเนินคดีอาญาของเจ้าพนักงานศุลกากร |
48 |
การสร้างความปรองดองในครอบครัวโดยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว |
49 |
บทบาทของพนักงานอัยการในการไกล่เกลี่ยคดีอาญา : ศึกษากรณีก่อนฟ้องคดี |
50 |
การอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาข้อกฎหมาย |
51 |
ความเป็นภาวะวิสัยในการสั่งคดีของพนักงานอัยการ |
52 |
การตรวจสอบการใช้ดุลพินิจในการไกล่เกลี่ยคดีของพนักงานสอบสวน |
53 |
พยานผู้เชี่ยวชาญในคดีอาญา |
54 |
การสืบสวนของเจ้าพนักงานปราบปรามยาเสพติด : |
55 |
การตรวจฟ้องในคดีอาญา |
56 |
ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลในความผิดฐานให้สินบน |
57 |
การจัดการของกลางในคดีอาญาที่เป็นของสดของเสียได้ |
58 |
ข้อสันนิษฐานกรณีการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ |
59 |
สิทธิการได้มาซึ่งสัญชาติ : |
ปี พ.ศ. 2551 |
60 |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนามาตรฐานโทษทางวินัยสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา |
61 |
การนำคดีขึ้นสู่ศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 44/1 / |
62 |
การระงับข้อพิพาททางอาญาโดยชุมชน |
63 |
การนำวิธีการเพื่อความปลอดภัยมาใช้ในคดีอาญา : ศึกษาการแสวงหาข้อเท็จจริงประกอบการดำเนินคดี |
64 |
บทบาทของพนักงานอัยการต่อการใช้ดุลพินิจ ของศาลในการกำหนดโทษ |
65 |
การยกเลิกโทษประหารชีวิต |
66 |
เหตุออกหมายจับ : ศึกษากรณีเหตุความร้ายแรงในการออกหมายจับ |
67 |
การรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง |
68 |
มาตรการริบทรัพย์สินทางแพ่งตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : |
69 |
สิทธิที่จะไม่ยอมให้การเป็นพยานของบิดามารดาและบุตรของผู้ถูกกล่าวหา |
70 |
การคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาที่เป็นคนพิการในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา |
71 |
บทบาทของศาลในคดีล้มละลาย : |
72 |
ข้อห้ามรับฟังพยานเพื่อส่งเสริมนโยบายทางสังคม : |
73 |
ศาลกับการตรวจสอบอำนาจดำเนินคดี |
74 |
บทบาทของศาลในคดีมโนสาเร่ |
75 |
หลักความเป็นกลางของศาล |
76 |
บทบาทของอนุญาโตตุลาการในการค้นหาข้อเท็จจริง |
77 |
การรับฟังพยานหลักฐาน : ที่เกี่ยวกับสถานภาพและความประพฤติของบุคคลในคดีอาญา |
78 |
บทบาทองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคกับการมีส่วนร่วมในคดีอาญา |
79 |
การศึกษาทัศนคติของสังคมต่อศาลยุติธรรม
ภายหลังการแยกศาลยุติธรรมออกจากกระทรวงยุติธรรม |
ปี พ.ศ. 2550 |
80 |
ปัญหาการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญา : |
ปี พ.ศ. 2547 |
81 |
การไต่สวนข้อเท็จจริงคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ |
ปี พ.ศ. 2545 |
82 |
รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิรูประบบวินัย อุทธรณ์และร้องทุกข์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ |
ปี พ.ศ. 2530 |
83 |
ปัญหาบางประการเกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในวงราชการ |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
84 |
กฎหมายรัฐธรรมนูญจีน |
85 |
กฎหมายรัฐธรรมนูญจีน |
86 |
หนังสือคำอธิบายกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน |