ปี พ.ศ. 2562 |
1 |
เทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์เพื่อสิ่งแวดล้อมจากการผสมยางธรรมชาติกับพอลิพรอพิลีนสำหรับการใช้งานเฉพาะด้าน |
2 |
การจัดทำร่างมาตราฐานน้ำยางพาราสำหรับปูสระกักเก็บน้ำ |
3 |
การศึกษาความทนทานการใช้งานผลิตภัณฑ์แผ่นยางปูพื้นจากยางพารา ระยะที่2 |
4 |
การพัฒนาเครื่องมือทดสอบผลิตภัณฑ์ฟองน้ำลาเท็กซ์แบบการทนแรงอัดซ้ำคงที่ |
ปี พ.ศ. 2561 |
5 |
สมบัติการไหล สมบัติเชิงกล สมบัติทางพลวัติ และสมบัติเชิงความร้อนของยางกลุ่มที่ใช้งานทั่วไปผสมน้ำมันช่วยแปรรูปที่ดัดแปรจากน้ำมันพืช |
6 |
การป้องกันการกัดเซาะตลิ่งโดยใช้แผ่นยางพารา กรณีศึกษา: ตลิ่งคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา |
7 |
การพัฒนาเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากวัสดุผสมระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์และพอลิพรอพิลีน |
8 |
การเตรียมและสมบัติของยางธรรมชาติผสมชานอ้อย |
ปี พ.ศ. 2560 |
9 |
การปรับปรุงสมบัติของพอลิเมอร์คอมโพสิทจากยางธรรมชาติและเศษผงหนังเพื่อใช้งานเป็นแผ่นหนังเทียม |
ปี พ.ศ. 2559 |
10 |
การเตรียมและศึกษาสมบัติของยางเบลนด์ทนไฟปราศจากฮาโลเจนจากยางอีพีดีเอ็มและยางธรรมชาติ เพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ |
11 |
การปรับปรุงโครงสร้างและสมบัติของโฟมคอมโพสิทนาโนที่ใช้เบลนด์ของพอลิเอทิลีนไวนิลอะซีเตทกับยางธรรมชาติและนาโนเคลย์ |
12 |
พื้นกระเบื้องยางเพื่อสิ่งแวดล้อมจากการเบลนด์ยางธรรมชาติโปรตีนต่ำกับเอทีลินไวนิลอะซิเตท |
13 |
ต้นแบบท่อน้ำหยดสหรับการเกษตรจากยางธรรมชาติเบลนด์กับยางรีไซเคิล |
ปี พ.ศ. 2557 |
14 |
การปรับปรุงสมบัติของเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์ทนไฟจากเบลนด์ของพอลีโพรไพลีนและยางธรรมชาติด้วยนาโนเคลย์ |
ปี พ.ศ. 2556 |
15 |
สมบัติการไหล สมบัติเชิงกล สมบัติทางพลวัติ และสมบัติเชิงความร้อนของยางกลุ่มที่ใช้งานทั่วไปผสมน้ำมันช่วยแปรรูปที่ดัดแปรจากน้ำมันพืช |
16 |
การปรับปรุงสมบัติของเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์ทนไฟจากเบลนด์ของพอลีโพรไพลีนและยางธรรมชาติด้วยนาโนเคลย์ |
ปี พ.ศ. 2554 |
17 |
การพัฒนาวัสดุทดแทนหนังจากคอมโพสิทของยางธรรมชาติ/เอทิลีนไวนิลอะซิเตทผสม ผงหนัง |
18 |
การเตรียมน้ำมันชนิดใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในการใช้แทนน้ำมันเดิมที่มีพอลิอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนปริมาณสูงในกระบวนการแปรรูปยาง |
ปี พ.ศ. 2553 |
19 |
ทอร์โมพลาสติกยางธรรมชาตชนิดใหม่จากไนลอนและพอลิเอสเทอร์ |
20 |
อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ต่อสมบัติของเทอร์ โมพลาสติกวัลคาไนซ์ และการเตรียมเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ที่มีสมบัติเฉพาะจากการเบลนด์ยางธรรมชาติกับพอลิโพรไพลีน |
21 |
การขยายขอบเขตการประยุกต์ใช้ยางพาราในอุตสาหกรรม |
22 |
การถ่ายทอดผลงานวิจัย ดินประดิษฐ์จากยางพารา และการทำผลิตภัณฑ์จากน้ำยางข้นชนิดครีม |
23 |
อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ที่ใช้กำมะถันและสารเพิ่มการยึดติดต่อสมบัติการยึดติดกาวน้ำยางจากน้ำยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยเมทิลเมทาคริเลทและบิวทิล-อะคริเลท |
ปี พ.ศ. 2552 |
24 |
การเตรียมน้ำมันชนิดใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในการใช้แทนน้ำมันเดิมที่มีพอลิอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนปริมาณสูงในกระบวนการแปรรูปยาง |
ปี พ.ศ. 2551 |
25 |
เทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากยางธรรมชาติเบลนด์ กับโคพอลิเมอร์ของเอทิลีนกับไวนิลอะซิเตท |
26 |
อิทธิพลของระบบวัลคาไนซ์ที่ใช้กำมะถัน และสารเพิ่มการยึดติดต่อสมบัติการยึดติดของกาวน้ำยาง จากน้ำยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยเมทิลเมทาคริเลท และบิวทิลเมทาคริเลท |
27 |
โครงการวิจัยขนาดเล็กเรื่องยางพารา (SPR) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี |
28 |
เทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากยางธรรมชาติเบลนด์กับโคพอลิเมอร์ของเอทิลีนกับไวนิลอะซิเตท |
29 |
อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ที่ใช้กำมะถัน และสารเพิ่มการยึดติดต่อสมบัติการยึดติดของกาวน้ำยางธรรมชาติกราฟต์ด้วย เมทิลเมทาคริเลทและบิวทิลเมทาคริเลท |
30 |
เทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากการเบลน์ยางธรรมชาติอิพอกไซด์ ยางคลอริเนตพอลิเอทิลีน พอลิโพรไพลีน |
31 |
อิทธิพลของพลาสติไซเซอร์และสารตัวเติมต่อสมบัติของเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากการเบลนด์ยางธรรมชาติอิพอกไซด์/ยางคลอริเนตพอลิเอทิลีน/พอลิโพรไพลีน / |
ปี พ.ศ. 2550 |
32 |
การเตรียมยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยสไตรีนปริมาณสูงและการประยุกต์ใช้งานเป็นสารเพิ่มความแข็ง ภายใต้แผนงาน : ชุดโครงการวิจัยแห่งชาติยางพารา (SPR). |
33 |
การเตรียมกาวยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยอะคริลิกมอนอเมอร์ สำหรับยึดติดไม้ ภายใต้แผนงาน : ชุดโครงการวิจัยแห่งชาติยางพารา (SPR). |
34 |
การเตรียมน้ำยางข้นโดยใช้สารก่อครีมจากเม็ดมะขามและแป้งมันสำปะหลัง ภายใต้แผนงาน : ชุดโครงการวิจัยแห่งชาติยางพารา (SPR). |
35 |
การเตรียมไพรเมอร์เพื่อใช้ในการติดยางกับโลหะโดยใช้กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกับมาลิอิกแอนไฮไดรด์ ภายใต้แผนงาน : ชุดโครงการวิจัยแห่งชาติยางพารา (SPR) |
36 |
ต้นแบบการทำยางปูสระจากน้ำยางธรรมชาติ |
37 |
การเตรียมไพรเมอร์ เพื่อใช้ในการติดยางกับโลหะ โดยใช้กราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติ กับมาลิอิกแอนไฮไดรด์ |
38 |
การเตรียมกาวยางธรรมชาติกราฟต์ ด้วยอะคริลิกมอนอเมอร์ สำหรับยึดติดไม้ |
39 |
การเตรียมยางธรรมชาติกราฟต์ ด้วยสไตรีนปริมาณสูงและการประยุกต์ใช้งาน เป็นสารเพิ่มความแข็ง |
ปี พ.ศ. 2549 |
40 |
ศึกษาความเข้ากันได้ของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ด้วยเครื่องรีโอมิเตอร์ชนิดโรซานคาร์ปิลลารี่ |
41 |
ศึกษาความเข้ากันได้ของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ด้วยเครื่องรีโอมิเตอร์ ชนิดโรซานคาร์ปิลลารี่ |
42 |
ยางธรรมชาติเกาะติดสารต้านออกซิเดชัน 4-อะมิโนไดฟินิลามีน เพื่อปรับปรุงการออกสูตรยาง |
43 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(8) |
44 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาสารเติมแต่งและสูตรผลิตภัณฑ์ยาง-มอ.(9) |
45 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาการวัลคาไนซ์ยางธรรมชาติ-มอ.(6) |
46 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(5) |
47 |
การเตรียมกาวยางธรรมชาติการฟต์ด้วยอะคริลิกมอนอเมอร์สำหรับยึดติดไม้ |
48 |
การเตรียมยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยสไตรีนปริมาณสูง และการประยุกต์ใช้งานเป็นสารเพิ่มความแข็ง |
49 |
โครงการวิจัยขนาดเล็กเรื่องยางพารา |
50 |
สมบัติการวัลคาไนซ์และสมบัติทางกายภาพของยางเบลนด์ระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์และยางคลอริเนตพลิเอทิลีน |
51 |
อิทธิพลของสารก่อเจลและสารตัวต่อการแปรรูปและสมบัติของยางฟองน้ำจากน้ำยางธรรมชาติ |
52 |
เทอร์โมพลาสติกอีลาสโตเมอร์จากการเบลนด์ยางธรรมชาติกับพอลิโพรไพลีนโดยกระบวนการวัลคาไนซ์แบบไดนามิกซ์ (ระยะที่ 1) |
53 |
สมบัติการวัลคาไนซ์และสมบัติทางกายภาพของยางเบลนด์ ระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์และยางคลอโรซัลโฟเนตพอลิเอทิลีน |
ปี พ.ศ. 2548 |
54 |
เทอร์โมพลาสติกอีลาสโตเมอร์จากการเบลนด์ยางธรรมชาติกับเมทิลเมทาคริเลท โดยกระบวนการวัลคาไนเซชันแบบไดนามิกซ์ |
55 |
อิทธิพลของสบู่ต่อการเกิดฟองในน้ำยางธรรมชาติ |
56 |
การวัลคาไนเซชั่นร่วมของยางธรรมชาติเบลนด์กับยางอีพีดีเอ็ม |
57 |
กลุ่มโครงการวิจัยย่อยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(2) |
58 |
ศึกษาความเข้ากันได้ของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ด้วยเครื่องรีโอมิเตอร์ชนิดโรซานคาร์บิลลารี่ |
59 |
การเตรียมยางธรรมชาติไซไคลซ์จากน้ำยางสดเพื่อใช้เป็นสารเติมแต่งยาง |
60 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาสารเติมแต่งแและสูตรผลิตภัณฑ์ยาง-มอ.(9) |
61 |
สมบัติการวัลคาไนซ์และสมบัติทางกายภาพของยางเบลนด์ระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์และยางคลอโรซัลโฟพอลิเอทิลีน |
62 |
การเตรียมถุงมือยางธรรมชาติชนิดไร้แป้งและโปรตีนต่ำโดยเทคนิคการเคลือบ |
63 |
กลุ่มโครงการการวิจัยย่อยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-ม(3) |
64 |
เทอร์โมพลาสติกอีลาสโตเมอร์จากการเบลนด์ยางธรรมชาติ กับเมทิล เมทาคริเลท โดยกระบวนการวัลคาไนเซชันแบบไดนามิกซ์ |
65 |
อิทธิพลของสบู่ต่อการเกิดฟองอากาศในน้ำยางธรรมชาติ |
66 |
การเตรียมและสมบัติของยางผสมสารตัวเติมระหว่างน้ำยางธรรมชาติอิพอกไซด์กับดิสเพอร์ชั่นของสารตัวเติมเคลย์ |
67 |
ศึกษาความเข้ากันได้ของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ด้วยเครื่องรีโอมิเตอร์ชนิดโรซานคาร์ปิลลารี่ |
68 |
การเตรียมยางธรรมชาติไซไคลซ์จากน้ำยางสด เพื่อใช้เป็นสารเติมแต่งยาง |
69 |
กาวติดยางกับโลหะจากกราฟต์โคพอลิเมอร์ของธรรมชาติ กับมาลิอิกแอนไฮไดรด์ |
70 |
กาวจากน้ำยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกับพอลิเมทิลเมทาคริเลท |
ปี พ.ศ. 2547 |
71 |
เทอร์โมพลาสติกวัลคาร์ไนซ์จากการเบลนด์เอทิลีนไวนิลอะซิเตทกับยางธรรมชาติอิพอกไซด์และยางธรรมชาติที่มีหมู่ไดนิวทิลฟอสเฟต |
72 |
การศึกษาหาแนวทางการลดปริมาณซิงค์ออกไซด์ในสูตรยางธรรมชาติ |
73 |
ยางธรรมชาติทนไฟจากยางธรรมชาติที่ดัดแปลงโมเลกุลด้วยหมู่ไดบิวทิลฟอสเฟต |
74 |
การควบคุมความแข็งของฟองยางธรรมชาติ |
75 |
อิทธิพลของสบู่ต่อการเกิดฟองอากาศในน้ำยางธรรมชาติ |
76 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(8) |
77 |
การเตรียมและสมบัติของยางผสมสารตัวเติมระหว่างน้ำยางธรรมชาติอิพอกไซด์กับดิสเพอร์ชั่นของสารตัวเติมเคลย์ |
78 |
เทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์จากการเบลนด์ยางไนไตรล์/ยางธรรมชาติอิพอกไซด์/พอลิโพรไพลีน |
79 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาการวัลคาไนซ์ยางธรรมชาติ-มอ.(6) |
80 |
กลุ่มโครงการวิจัยขนาดเล็กวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรชาติ -มอ.(5) |
81 |
กลุ่มโครงการวิจัยย่อยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(4) |
82 |
กลุ่มโครงการวิจัยย่อยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-ม(1) |
83 |
ยางธรรมชาติทนไฟจากยางธรรมชาติ ที่ดัดแปลงโมเลกุลด้วยหมู่ไดบิวทิลฟอสเฟต |
84 |
การศึกษาหาแนวทางการลดปริมาณซิงค์ออกไซด์ในสูตรยางธรรมชาติ |
ปี พ.ศ. 2546 |
85 |
กลุ่มโครงการวิจัยย่อยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ำยางธรรมชาติ-มอ.(2) |
86 |
การพัฒนาวัสดุช่วยสอนทางการแพทย์จากน้ำยางธรรมชาติ |
87 |
การเตรียมยางเบรนด์ระหว่างพอลิเมทาคริเลทกับยางธรรมชาติพอกไซด์ในสภาวะลาเท็กซ์ |
88 |
การเตรียมยางเบลนด์จากกราฟต์โคพอลิเมอร์ระหว่างยางธรรมชาติและพอลิเมทิลเมทาคริเลท (NR-g-PMMA) กับยางธรรมชาติอิพอกไซด์ (ENR) |
89 |
อิทธิพลของการใช้สารก่อนิวเคลียสและการออกแบบไดน์ ของเครื่องเอกซ์ทรูดต่อสมบัติ ของพอลิโพรไพลีนที่แปรรูปโดยใช้เครื่องอัดเบ้าแบบสุญญากาศ |
ปี พ.ศ. 2544 |
90 |
การเตรียมถุงมือยางธรรมชาติชนิดไร้แป้งและโปรตีนต่ำโดยเทคนิคการเคลือบ |
91 |
การเตรียมและสมบัติของพอลิโพรไพลีนเสริมแรงด้วยผงไม้ จากเปลือกหุ้มเมล็ดยางธรรมชาติ |
ปี พ.ศ. 2543 |
92 |
การเตรียมและสมบัติของพอลิโพรไพลีนเสริมแรงด้วยผงไม้จากเปลือกหุ้มเมล็ดยางธรรมชาติ |
93 |
ผลของระยะเวลาการเก็บยางผสมสารเคมีต่อลักษณะการวัลคาไนซ์ |
ปี พ.ศ. 2541 |
94 |
การผลิตกาวดักแมลงจากยางธรรมชาติ |
ปี พ.ศ. 2539 |
95 |
การเตรียมยางผสมของยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยเมทิลเมทาคริเรตผสมโพลิไวนิลครอไรด์ |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
96 |
เทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนความร้อนจากการเบลนด์ยางธรรมชาติอิพอกไซด์กับพอลิโพรไพลีน : อิทธิพลของพอลิเมอร์ชนิดที่สาม |