ปี พ.ศ. 2558 |
1 |
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการตามมาตรการในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย พ.ศ. 2556 : ศึกษากรณีธุรกิจประกันชีวิต |
2 |
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการตามมาตรการในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย พ.ศ. 2556 : ศึกษากรณีธุรกิจประกันชีวิต |
3 |
ปัญหาการบังคับใช้โทษปรับในคดียาเสพติด |
4 |
การนำมาตรการสมคบมาใช้กับกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา |
5 |
การกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
6 |
การกำหนดความผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารให้เป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
7 |
การใช้มาตรการพิเศษในการแสวงหาพยานหลักฐานในความผิดเกี่ยวกับคดีเลือกตั้ง |
8 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์และการบังคับใช้กฎหมายบัตรอิเล็กทรอนิกส์ในระบบการชำระเงินของประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2557 |
9 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 |
10 |
การแสวงหาและพิสูจน์พยานหลักฐานในคดีเกี่ยวกับการกระทำอันไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 |
11 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 : ศึกษากรณีการกำหนดให้ความผิดฐานลักลอบขนผู้ย้ายถิ่นฐานเป็นความผิดมูลฐาน |
12 |
การกำหนดความผิดฐานดักฟังการสื่อสารที่เป็นการส่วนตัวโดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ |
13 |
การบังคับใช้มาตรการแฝงตัวตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ: ศึกษากรณีการจัดทำเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการแฝงตัว |
14 |
พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 : ศึกษากรณีการจัดตั้งกองทุนเพื่อการป้องกันและการสอบสวนคดีพิเศษ |
15 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 :ศึกษากรณีเกี่ยวกับการเพิ่มความผิดมูลฐานตามประมวลกฎหมายที่ดิน |
16 |
ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล: ศึกษากรณีการกำหนดมาตรการป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่ของนิติบุคคลให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ |
ปี พ.ศ. 2556 |
17 |
การห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 |
18 |
การนำมาตรการบำบัดรักษาผู้ติดการพนันมาใช้ในความผิดการพนัน |
19 |
การกระทำความผิดต่อเนื่องในคดีสิ่งแวดล้อม : ศึกษากรณีการรุกล้ำลำน้ำ |
20 |
การใช้สิทธิป้องกันโดยไม่จำต้องหลีกเลี่ยงภยันตรายก่อน (Stand Your Ground) |
21 |
ความชอบธรรมของการคุมความประพฤติเมื่อศาลพิพากษาปล่อยตัว ตามมาตรา 138 แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 |
22 |
การนำมาตรการพิเศษมาใช้กับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับการล้มละลายโดยฉ้อฉล |
23 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 : ศึกษากรณีอำนาจหน้าที่ของศาลกรณีร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน |
24 |
ความผิดมูลฐานตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษาวิเคราะห์การกระทำอันเป็นโจรสลัด |
25 |
ความชัดเจนและความเหมาะสมในการกำหนดนิยามของการก่อการร้ายในประมวลกฎหมายอาญาของไทย |
26 |
แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารจัดการคดีในสถานีตำรวจ |
ปี พ.ศ. 2555 |
27 |
การแสวงหาข้อเท็จจริงและการรวบรวมพยานหลักฐานโดยพนักงานอัยการ : ศึกษาตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 |
28 |
การเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ.2000 : ศึกษากรณีการพัฒนากฎหมายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติของประเทศไทย |
29 |
อำนาจในการบังคับโทษปรับและมาตรการทดแทนโทษปรับของพนักงานสอบสวน : ศึกษากรณีตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 |
30 |
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าพนักงานตำรวจในสถานการณ์พิเศษ |
31 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีการกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงเงินตราเป็นความผิดมูลฐาน |
32 |
อำนาจจับกุมตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมาตรา 38/1 |
33 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีการเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุน |
34 |
อำนาจในการบังคับโทษปรับและมาตรการทดแทนโทษปรับของพนักงานสอบสวน : ศึกษากรณีตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 |
35 |
การแสวงหาข้อเท็จจริงและการรวบรวมพยานหลักฐานโดยพนักงานอัยการ : ศึกษาตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 |
36 |
การเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ.2000 : ศึกษากรณีการพัฒนากฎหมายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติของประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2554 |
37 |
การปฏิบัติต่อหญิงมีครรภ์ในระหว่างการดำเนินคดีอาญา |
38 |
บทบาท และหน้าที่ของเจ้าพนักงานผู้บังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยของศาล |
39 |
ผลกระทบจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 : ศึกษากรณีการรายงานการดำเนินการตามหมวดสี่ของคณะกรรมการธุรกรรมและเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ |
40 |
กฎหมายเกี่ยวกับการใช้กำลังควบคุมการชุมนุมสาธารณะ : ศึกษาร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.... |
41 |
การกระทำความผิดโดยอาศัยโอกาสจากการประกอบวิชาชีพ : ศึกษากรณีแพทย์กระทำความผิด |
42 |
บทบาทของรัฐสภาไทยในการควบคุมธรรมาภิบาลของตำรวจ |
43 |
การกำหนดให้การยักยอกทรัพย์สินในภาคเอกชนเป็นความผิดทางอาญาตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ.2003 |
44 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ศึกษากรณี : |
ปี พ.ศ. 2553 |
45 |
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ : ศึกษาข้อกฎหมายกรณีการลักลอบใช้บริการอินเตอร์เน็ตผ่านเครือข่ายไร้สาย |
46 |
มาตรการทางกฎหมายในการลดทอนความเป็นอาชญากรรมทางคดียาเสพติดของประเทศไทย |
47 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีการริบทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิดเกี่ยวกับเอกสารสิทธิที่ดิน |
48 |
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ศึกษากรณีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้าประเวณีบนอินเทอร์เน็ต |
49 |
การกำหนดความผิดเกี่ยวกับสินบนในภาคเอกชนตามอนุสัญญาองค์กรสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 |
50 |
การนำโทษที่มีลักษณะประจานมาใช้กับผู้กระทำความผิด |
51 |
การนำเอาโทษกักขังมาใช้บังคับกับผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 |
52 |
ความเหมาะสมและความจำเป็นในการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายมีหน้าที่ในการรายงานธุรกรรมตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
53 |
เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกาย |
54 |
มาตรการทางกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษกับการปราบปรามองค์กรอาชญากรรมและผู้มีอิทธิพล |
55 |
การตรวจสอบความจริงของการได้มาซึ่งพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ |
56 |
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์: |
57 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542: |
58 |
เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกาย |
59 |
การนำโทษที่มีลักษณะประจานมาใช้กับผู้กระทำความผิด |
60 |
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ศึกษากรณีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้าประเวณีบนอินเตอร์เน็ต |
61 |
มาตรการทางกฎหมายในการลดทอนความเป็นอาชญากรรมทางของประเทศไทย |
62 |
ความเหมาะสมและความจำเป็นในการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายมีหน้าที่ในการรายงานธุรกรรมตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
63 |
การนำเอาโทษกักขังมาใช้บังคับผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 |
ปี พ.ศ. 2552 |
64 |
การบังคับโทษปรับ : ศึกษากรณีอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานบังคับคดีอาญา |
65 |
การกำหนดให้ความผิดอาญาร้ายแรง ตามอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ.2000 เป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
66 |
แนวทางในการนำมาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดในชุมชนมาใช้กับการกระทำความผิดโดยเด็กในประเทศไทย |
67 |
พันธกรณีตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : ศึกษากรณีการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในกฎหมายที่เกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต |
68 |
มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมสื่อลามกและสื่อที่ไม่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีร่างพระราชบัญญัติปราบปรามวัตถุยั่วยุพฤติกรรมอันตราย พ.ศ.... |
69 |
การบังคับใช้กฎหมายยาเสพติด ศึกษาในกรณีการปราบปรามผู้กระทำความผิดยาเสพติดรายสำคัญ |
70 |
การคุ้มครองพยาน : ศึกษากรณีการนำมาตรการฉุกเฉินมาปรับใช้. |
71 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีอำนาจหน้าที่และการบังคับใช้กฎหมายของเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินภายหลังการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 |
72 |
การพัฒนาการสั่งคดีของอัยการตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 |
73 |
ปัญหาการปฏิบัติต่อพยานในคดีอาญา ศึกษากรณี : การปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมต่อพยานในชั้นพนักงานสืบสวนสอบสวน |
74 |
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีต่อผู้กระทำความผิดซึ่งเป็นผู้ทรงอิทธิพลในความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ |
75 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีการฉ้อโกงประกันภัยรถยนต์ |
76 |
นโยบายรัฐในการควบคุมอาชญากรรมแชร์ลูกโซ่ที่แฝงในธุรกิจขายตรง |
77 |
การใช้ดุลพินิจของคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 กรณีผู้ที่เคยผ่านการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด |
78 |
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสารตั้งต้น และเคมีภัณฑ์จำเป็นที่ใช้ในการผลิตยาเสพติด |
79 |
แนวทางในการนำมาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดในชุมชนมาใช้กับการกระทำความผิด โดยเด็กในประเทศไทย |
80 |
การคุ้มครองพยาน : ศึกษากรณีการนำมาตรการฉุกเฉินมาปรับใช้ |
81 |
การบังคับใช้กฎหมายยาเสพติด ศึกษาในกรณีการปราบปรามผู้กระทำความผิดยาเสพติดรายสำคัญ |
82 |
พันธกรณีตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ.2003 : ศึกษากรณีการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในกฎหมายที่เกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต |
83 |
การกำหนดให้ความผิดอาญาร้ายแรง ตามอนุสัญญาสหประชาชาติ เพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ.2000 เป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
84 |
การพัฒนาการสั่งคดีของอัยการตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 |
85 |
การบังคับโทษปรับ : ศึกษากรณีอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานบังคับคดีอาญา |
86 |
ปัญหาการปฏิบัติต่อพยานในคดีอาญา ศึกษากรณี : การปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยานในชั้นพนักงานสืบสวนสอบสวน |
87 |
มาตรการดำเนินการกับทรัพย์สินขององค์กรที่สนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย |
88 |
มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ต่อผู้กระทำความผิดที่ให้ข้อมูลที่สำคัญและเป็นประโยชน์ ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 |
ปี พ.ศ. 2551 |
89 |
การนำมาตรการส่งมอบภายใต้การควบคุมมาใช้กับคดียาเสพติดของประเทศไทย |
90 |
การบังคับใช้กฎหมายของกรมสอบสวนคดีพิเศษกรณีความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ |
91 |
ประเทศไทยกับการอนุวัติการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : ศึกษากรณีการเรียกคืนทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด |
92 |
ความรับผิดทางอาญาในความผิดฐานข่มขืน ศึกษากรณีสามีข่มขืนภริยาของตน |
93 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 : ศึกษากรณีการใช้มาตรการพิเศษในการแสวงหาพยานหลักฐาน |
94 |
การรักษาความปลอดภัยภาคเอกชน : ศึกษาเฉพาะกรณีการกำกับดูแลและการบังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานรักษาความปลอดภัย |
95 |
มาตรการทางอาญาต่อการกระทำความผิดต่อทรัพย์สินทางปัญญา |
96 |
กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษากรณีการรายงานธุรกรรมขององค์กรที่มีความเสี่ยงต่อการกระทำความผิดฐานฟอกเงิน |
97 |
การคุ้มครองพยาน : ศึกษาเฉพาะกรณีที่พยานเป็นผู้ต้องขังในเรือนจำ |
98 |
มาตรการดำเนินการกับทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด: ศึกษากรณีดอกผลของทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด |
99 |
การวิเคราะห์ความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการเลือกตั้งในกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
100 |
การนำวิธีการต่อรองคำรับสารภาพมาปรับใช้ : ศึกษากรณีคดีทุจริตประพฤติมิชอบ |
101 |
สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว : ศึกษากรณีสิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว ของบุคคลสาธารณะ |
102 |
ผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรม ในคดีอาญาที่มีต่อศาลและจำเลย อันเนื่องมาจากการแก้ไขกฎหมายเพื่อคุ้มครองผู้ต้องหา : ศึกษาเฉพาะกรณีตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 84 วรรคท้ายที่แก้ไขใหม่ |
103 |
กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษากรณีการรายงานธุรกรรม ขององค์กรที่มีความเสี่ยงต่อการกระทำความผิดฐานฟอกเงิน |
104 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีอำนาจในการรวบรวมพยานหลักฐาน ของพนักงานเจ้าหน้าที่ |
105 |
ประเทศไทยกับการอนุวัติการตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ.2003 : ศึกษากรณีการเรียกคืนทรัพย์สิน ที่ได้มาจากการกระทำความผิด |
106 |
มาตรการดำเนินการกับทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด : ศึกษากรณีดอกผลของทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด |
107 |
การนำมาตรการส่งมอบภายใต้การควบคุมมาใช้กับคดียาเสพติดของประเทศไทย |
108 |
การบังคับใช้กฎหมายของกรมสอบสวนคดีพิเศษ กรณีความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ |
109 |
การรักษาความปลอดภัยภาคเอกชน : ศึกษาเฉพาะกรณีการกำกับดูแล และการบังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานรักษาความปลอดภัย |
110 |
ความรับผิดทางอาญาในความผิดฐานข่มขืน ศึกษากรณีสามีข่มขืนภริยาของตน |
111 |
การคุ้มครองพยาน : ศึกษาเฉพาะกรณีที่พยานเป็นผู้ต้องขังในเรือนจำ |
112 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 : ศึกษากรณีการใช้มาตรการพิเศษในการแสวงหาพยานหลักฐาน |
ปี พ.ศ. 2550 |
113 |
การเปิดเผยพยานหลักฐานก่อนการสืบพยานคดีอาญา : ศึกษากรณีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา |
114 |
การเสริมสร้างมาตรการเพื่อสัมฤทธิ์ผลในกระบวนการบังคับใช้กฎหมายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. |
115 |
การกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับการระดมเครือข่ายโดยมิชอบตามกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรงเป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
116 |
การฟอกเงินโดยองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร : ศึกษาเฉพาะกรณีข้อเสนอแนะพิเศษของหน่วยป้องกันอาชญากรรมการทางการเงิน |
117 |
การกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนเปรียบเทียบการฉ้อโกงของลาว |
118 |
การฉ้อโกงในธุรกิจประกันวินาศภัย |
119 |
การนำวิธีการว่าด้วยความร่วมมือของผู้กระทำความผิดมาใช้ในคดีฟอกเงิน |
120 |
ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 |
121 |
การนำเอามาตรการสมคบกันกระทำความผิดมาบังคับใช้กับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 |
122 |
ทัศนะของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต่อปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำผิดทางเพศสืบเนื่องจากการใช้ห้องสนทนาทางอินเทอร์เน็ต |
123 |
ทัศนะของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัตรเครดิตต่อการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจด้านการทุจริตด้วยบัตรเครดิต |
ปี พ.ศ. 2549 |
124 |
อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 : ศึกษากรณีความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตในภาคเอกชน |
125 |
การแปรรูปเรือนจำให้เอกชนดำเนินการ ศึกษากรณี ความรับผิดทางอาญาของผู้ปฏิบัติงาน |
126 |
การยึดรถยนต์ของกลางตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 78 วรรค 2 |
127 |
พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 : ศึกษากรณีมาตราการบังคับใช้กฎหมายต่อผู้ทรงอิทธิพล |
128 |
การบังคับใช้กฎหมายของกรมสอบสวนคดีพิเศษกับองค์กรอาชญากรรม |
129 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีหนี้นอกระบบของผู้ประกอบธุรกิจที่มิใช่สถาบันการเงินภายใต้พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พุทธศักราช 2475 |
130 |
การเพิ่มความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการปลอมเอกสารราชการในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 : ศึกษากรณีการปลอมหนังสือเดินทาง |
131 |
ความรับผิดของรัฐต่อพยานในการให้ความคุ้มครองตามมาตรการพิเศษ |
132 |
มาตรการกฎหมายในการป้องกันการแปรสภาพทรัพย์สินในกิจกรรมการพนัน |
133 |
ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. 2534 |
134 |
การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการค้น : ศึกษากรณีพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 |
135 |
โทษปรับ : ศึกษากรณีการใช้มาตรการอื่นมาเสริมและแทนการปรับ |
136 |
การวินิจฉัย "ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยของสถาบันการเงิน" เพื่อกำหนดรูปแบบของการฟอกเงิน |
ปี พ.ศ. 2548 |
137 |
การบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิต : ศึกษากรณีความผิดเกี่ยวกับการค้าบุหรี่เถื่อน |
138 |
การกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรเป็นความผิดมูลฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
139 |
การบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง : ศึกษากรณีการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับชาวประมงในเขตต่อเนื่อง |
140 |
การนำหลักการสมคบกันกระทำความผิดมาใช้เพื่อป้องกันและปราบปรามความผิดกลุ่มสถาบันการเงิน : ศึกษากรณีความผิดเกี่ยวกับธนาคารพาณิชย์ |
ปี พ.ศ. 2547 |
141 |
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษาเฉพาะกรณีการแก้ไขความผิดฐานลักลอบหนีศุลกากร |
142 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 กับความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการฉ้อโกงประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีการหลอกลวงคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ |
143 |
การสั่งปิดชั่วคราวและการพักใช้ใบอนุญาตสถานประกอบการตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด |
144 |
การกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินพ.ศ. 2542 |
145 |
ความผิดมูลฐานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 :ศึกษากรณี การกระทำความผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง |
146 |
การควบคุม ตรวจสอบ องค์กรของรัฐฝ่ายบริหารตามรัฐธรรมนูญในการบังคับฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด |
147 |
ความผิดฐานค้ามนุษย์ตามอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กรค.ศ. 2000 และผลกระทบหากประเทศไทยเข้าเป็นภาคี |
148 |
การคุ้มครองสิทธิของบุคคลกับการใช้อำนาจของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ |
149 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 กับความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการสมยอมในการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐและการกีดกันการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมตามกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ |
150 |
การกำหนดความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติเป็นความผิดมูลฐานในกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษาเฉพาะกรณีความผิดว่าด้วยการป่าไม้ |
ปี พ.ศ. 2546 |
151 |
อำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบรายงานหรือข้อมูลเกี่ยวกับการทำธุรกรรมของ สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
152 |
การดำเนินการริบทรัพย์สินในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด |
153 |
ประสิทธิภาพในการบังคับใช้โทษอาญาตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ |
154 |
การเพิ่มความผิดเกี่ยวกับการพนันเป็นความผิดมูลฐานในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 |
155 |
การดำเนินการกับทรัพย์สินในคดียาเสพติด : ศึกษาเฉพาะกรณียานพาหนะที่เป็นของกลาง |
156 |
กฎหมายขัดขวางกระบวนการยุติธรรม : ศึกษากรณีการพัฒนากฎหมายไทยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ค.ศ. 2000 |
157 |
มาตรการในการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินในส่วนของธนาคารพาณิชย์เปรียบเทียบแนวปฏิบัติของประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2545 |
158 |
การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษากรณีการดำเนินการกับธุรกรรมเงินสด |
159 |
ความเหมาะสมของการลงโทษ : ศึกษากรณีความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค |
160 |
ปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้กับความรับผิดทางอาญา |
161 |
กระบวนการฟอกเงินในสถาบันการเงิน : ศึกษากรณี Bank of Credit and Commerce International |
162 |
กฎหมายกับการปฏิบัติหน้าที่บรรเทาสาธารณภัยขององค์กรเอกชน |
163 |
อุปสรรคในการบังคับใช้พระราชกำหนดการกู้ยืมเงิน ที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 |
164 |
การคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาในคดีอาญา มิให้ต้องรับสารภาพโดยไม่สมัครใจ |
165 |
มาตรการทางกฎหมายที่บังคับใช้กับอาชญากรรมที่เกิดขึ้น ในกระบวนการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ |
166 |
เหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ |
167 |
มาตรการป้องกันและปราบปรามเงินนอกระบบ : ศึกษากรณีการใช้โพยก๊วน |
168 |
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาคเอกชนโดยองค์กรอิสระของรัฐ : ศึกษาเฉพาะกรณีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ |
169 |
การคุ้มครองบุคคลภายนอกผู้สุจริตจากการบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน |
170 |
การฉ้อโกงเกี่ยวกับการซื้อขายผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า : ศึกษากรณีการบังคับใช้กฎหมาย |
171 |
โทษประหารชีวิติ : ศึกษาวิธีการบังคับโทษด้วยการฉีดยากับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง |
ปี พ.ศ. 2544 |
172 |
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 : ศึกษาเฉพาะกรณีธุรกรรมที่มีเหตุผลอันควรสงสัย |
173 |
ปัญหาในการค้นและยึดพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ |
174 |
อำนาจรัฐในการควบคุมผู้ต้องหา : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น |
175 |
มาตรการคุ้มครองผู้ต้องหาในการสอบสวนคดีอาญา |
176 |
ความรับผิดทางอาญาในการแพร่เชื้อโรคที่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง |
177 |
การฟอกเงิน : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ |
178 |
การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกับการกระทำโดยเบื้องต้นและการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน |
179 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ : ศึกษาเฉพาะกรณีเกี่ยวกับการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศกับการบังคับใช้กฎหมาย |
180 |
กระบวนการบังคับใช้กฏหมายตามพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 |
ปี พ.ศ. 2543 |
181 |
กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : ศึกษาเฉพาะกรณีอำนาจของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กับคณะกรรมการธุรกรรม |
182 |
บทบาทการบังคับใช้กฎหมาย : ศึกษาเฉพาะกรณีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการปลอมปนน้ำมันเชื้อเพลิง |
183 |
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษาเฉพาะกรณี การคุ้มครองผู้เสียหายและพยานที่เป็นเด็กในการสอบสวน |
184 |
มาตรการป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าโบราณวัตถุ |
185 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับสถาบันการเงิน : ศึกษากรณีเปรียบเทียบมาตรการในการบังคับใช้กฎหมาย ของต่างประเทศและประเทศไทย |
186 |
การบังคับใช้กฎหมายอาญาในทะเลอาณาเขต : ศึกษากรณีการ กระทำความผิดอาญา เหนือเรือเอกชนต่างชาติขณะผ่านโดยสุจริต |
187 |
การนำวิธีการรต่อรองคำรับสารภาพมาใช้ในคดียาเสพติด |
ปี พ.ศ. 2542 |
188 |
การใช้ดุลยพินิจในการให้สินเชื่อทางธุรกิจกับความรับผิดทางอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีให้สินเชื่อเพื่อครอบงำกิจการ |
189 |
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับบ่อนการพนันในประเทศ |
ปี พ.ศ. 2541 |
190 |
สัมฤทธิ์ผลในการปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ในกรณีร่ำรวยผิดปกติ กับการนำเอากฎหมายปราบปรามการฟอกเงินมาใช้บังคับ |
191 |
การฉ้อโกงประกันชีวิต : เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายต่างประเทศ |
192 |
ความผิดฐานดำรงชีพอยู่ด้วยรายได้ของหญิงซึ่งค้าประเวณี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 286 |
ปี พ.ศ. 2540 |
193 |
การพัฒนาระบบงานนิติเวชเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ |
ปี พ.ศ. 2539 |
194 |
อำนาจอัยการสูงสุดในการสอบสวนคดีอาญาที่เกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร |
195 |
โทษอาญาฐานละเมิดลิขสิทธิ์ : ศึกษาฐานความผิดและความเหมาะสมของโทษ |
196 |
ความผิดฐานซื้อยาเสพติดให้โทษ |
197 |
มาตรการบังคับใช้กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน |
198 |
การคุ้มครองสิทธิในการขอให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์สินของผู้เสียหายใน คดีอาญา |
199 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและบรรเทาผลกระทบ ของการต้องโทษจำคุกต่อผู้พ้นโทษ |
200 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและปราบปรามการลักรถยนต์ |
201 |
มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโยธา |
202 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันปราบปรามการปลอมบัตรเครดิต |
203 |
การดำเนินคดีอาญาผิดพลาดโดยรัฐหรือเจ้าพนักงานของรัฐกับการชดเชย แก่ผู้ต้องหาและจำเลยในคดีอาญา |
204 |
อำนาจหน้าที่ของสำนักงานบริหารข้อมูลตามร่างกฎหมายปราบปรามการฟอกเงิน |
205 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีอุปสรรคในการบังคับใช้กฎมาย |
206 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการทุจริตในการออกหนังสือแสดงสิทธิ ในที่ดินและการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน |
207 |
การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับอาสาสมัครคุมประพฤติในการพักการลงโทษ |
208 |
การริบทรัพย์สินด้วยกระบวนการทางแพ่งตามหลักกฎหมายคอมมอนลอว์ เปรียบเทียบกับกฎหมายไทย |
209 |
กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินกับบทบาทและภาระหน้าที่ ของสถาบันการเงิน |
210 |
บทบาทของเจ้าหน้าที่สำนักงาน ป.ป.ป.ในการดำเนินคดีอาญา |
211 |
การจำกัดการแข่งขันที่ไม่ชอบธรรม : องค์ประกอบและเงื่อนไขในการกระทำ ความผิดตามมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติกำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ. 2522 |
ปี พ.ศ. 2538 |
212 |
การติดตามริบทรัพย์สินผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด : ศึกษาเฉพาะกรณีมาตรการบังคับใช้ต่อธนาคารหรือสถาบันการเงิน |
213 |
การใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการส่งเสริมการลงทุน ตามนโยบายเศรษฐกิจของรัฐ โดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน |
214 |
ปัญหาการให้สินบนนำจับในคดีอาญา |
215 |
การทุจริตโดยใช้บัตรเครดิต |
216 |
มาตรการทางกฎหมายในการป้องปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งกระทำโดยสถาบันการเงิน |
217 |
ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2534 : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบัญญัติคุ้มครองสิทธิ ของผู้ติดยาเสพติด |
218 |
ผู้ร่วมในความผิดที่มิใช่ตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน |
ปี พ.ศ. 2537 |
219 |
กลไกระดับชาติในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา |
220 |
อำนาจสอบสวนของพนักงานศุลกากร |
221 |
การบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันปราบปรามการบุกรุกป่าสงวนแห่งชาติ |
222 |
สภาพบังคับทางอาญาต่อผู้เสพยากลุ่มแอมเฟตามีนในขณะขับขี่ยานพาหนะ |
223 |
แนวทางการปรับปรุงการอุทธรณ์การประเมินภาษีศุลกากร |
224 |
ความผิดเกี่ยวกับไวรัสคอมพิวเตอร์ |
225 |
การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด โดยมาตรการริบทรัพย์สินตามพระราชบัญญัติมาตรการ ในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 |
226 |
การคุ้มครองผู้เสียหายในความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา |
227 |
เหตุบรรเทาโทษ : ศึกษากรณีการใช้ดุลพินิจลดโทษเมื่อจำเลยรับสารภาพ ในชั้นพิจารณา |
228 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจเกี่ยวกับการซื้อขายผลิตผลล่วงหน้า |
ปี พ.ศ. 2536 |
229 |
บทบาทของพนักงานสอบสวนในการดำเนินกระบวนการเรียกประกันทัณฑ์บน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 46 : ศีกษาเฉพาะกรณีก่อนมีการกระทำความผิด |
230 |
มาตรการปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิดโดยอาศัยการบริการสังคม |
231 |
การคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกคุมความประพฤติ |
232 |
การคุมประพฤตินิติบุคคล : ศึกษาเฉพาะกรณีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและ บริษัทจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ |
233 |
มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมอุบัติเหตุจราจรอันเกิดจากการดื่มสุรา ของผู้ขับขี่รถในประเทศไทย |
234 |
การรอการลงโทษและการรอการกำหนดโทษปรับ |
ปี พ.ศ. 2535 |
235 |
อาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม: บทบาทในการควบคุมสังคม |
236 |
เสรีภาพของหนังสือพิมพ์กับความผิดฐานหมิ่นประมาท |
237 |
บทบาทของพนักงานสอบสวนในของกลางคดีอาญา |
ปี พ.ศ. 2534 |
238 |
ความหมายทางอาญาของคำว่า"เอกสาร" |
239 |
ปัญหาการบังคับใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่องการกักกัน ตามประมวลกฎหมายอาญา |
240 |
สิทธิที่สามารถป้องกันได้โดยชอบด้วยกฎหมาย |
241 |
การทดแทนค่าเสียหายแก่ผู้เสียหายในคดีอาญาหรือเหยื่ออาชญากรรมโดยรัฐ |
242 |
การนำวิธีการกันตัวผู้ร่วมกระทำผิดเป็นพยานมาปรับใช้กับการสืบสวน และสอบสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ป. |
ปี พ.ศ. 2533 |
243 |
การกระทำความผิดทางอาญาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ |
244 |
ขอบเขตของ "อันตรายแก่กายหรือจิตใจ" ในความผิดต่อร่างกาย |
245 |
มาตรการทางกฎหมายเพื่อป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม บัตรเครดิต |
ปี พ.ศ. 2532 |
246 |
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ : ปัญหาการดำเนินคดีความผิดฐานหลีกเลี่ยง ภาษีศุลกากร |
247 |
การชันสูตรพลิกศพกับการดำเนินคดีอาญา |
248 |
การคุมขังผู้ต้องโทษไว้ในที่อยู่อาศัยโดยใช้เครื่องมืออิเล็กโทรนิก |
249 |
การจับโดยราษฎร |
ปี พ.ศ. 2531 |
250 |
ความไม่รู้กฏหมายกับความรับผิดในทางอาญาตามมาตรา 64แห่งประมวลกฏหมายอาญา |
ปี พ.ศ. 2530 |
251 |
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในการกระทำความผิดทางอาญา เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า |
ปี พ.ศ. 2529 |
252 |
การรับโทษหนักขึ้นเนื่องจากการเพิ่มโทษกับเหตุฉกรรจ์ในคดีอาญา |
ปี พ.ศ. 2528 |
253 |
ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา |
ปี พ.ศ. 2527 |
254 |
การต่อรองคำรับสารภาพ |
255 |
การกระทำโดยงดเว้น |
256 |
การบังคับใช้กฏหมายอาญาโดยกระบวนการยุติธรรมในประเทศไทย |
257 |
ความรับผิดในทางอาญาของผู้ใช้ |
ปี พ.ศ. 2525 |
258 |
วิวัฒนาการของกฎหมายไทยในรอบสองร้อยปี : รายงานผลการวิจัย |
259 |
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราโทษกับการกระทำความผิด |
ปี พ.ศ. 2523 |
260 |
การลงโทษประหารชีวิต |