ปี พ.ศ. 2561 |
1 |
การพัฒนาประสิทธิภาพเทคโนโลยีการแช่แข็งตัวอ่อนแกะ และการจัดตั้งต้นแบบธุรกิจผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็กด้วยเทคโนโลยีชีวภาพทางระบบสืบพันธุ์ |
ปี พ.ศ. 2558 |
2 |
การพัฒนาระบบติดตามอิมพีแดนซ์ในช่องคลอดเพื่อตรวจการเป็นสัดในสัตว์ |
ปี พ.ศ. 2557 |
3 |
การผลิตพ่อแม่แกะสายพันธุ์ดีและปลอดโรคเชิงพาณิชย์ด้วยเทคโนโลยี ด้านชีวภาพทางการสืบพันธุ์ชั้นสูง |
ปี พ.ศ. 2556 |
4 |
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสุกร โดยการจัดตั้งเขตส่งเสริมการเลี้ยงสุกรในจังหวัดนครปฐม |
ปี พ.ศ. 2554 |
5 |
การวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางระบบสืบพันธุ์ที่เหมาะสมเพื่อการนำไปใช้ การเพิ่มการผลิตสัตว์ การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าและชีวการแพทย์ |
6 |
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำเชื้อแช่แข็งและการประยุกต์ใช้น้ำเชื้อแช่แข็งสำหรับการผสมเทียมในอุตสาหกรรมการผลิตสุกร |
ปี พ.ศ. 2553 |
7 |
การประยุกต์ใช้ระบบการจัดการและประกันคุณภาพเพื่อพัฒนากระบวนการความปลอดภัยชีวภาพต่อโรคปากและเท้าเปื่อยในฟาร์มสุกรพ่อแม่พันธุ์ |
8 |
ผลของความเครียดจากความร้อนต่อการกลับมาทำงานของรังไข่หลังคลอดและการเปลี่ยนแปลงของพลาสมาเมตาบอไลท์ในแม่โคนมที่ให้นมครั้งแรก |
ปี พ.ศ. 2552 |
9 |
ผลของการเติมสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ และกรดไขมันไม่อิ่มตัวแบบสายยาว [DHA] ในกระบวนการแช่แข็งต่อคุณภาพน้ำเชื้อสุกรแช่แข็งในพ่อสุกรสายพันธุ์ต่างๆ |
10 |
การประยุกต์ใช้ระบบการจัดการและประกันคุณภาพเพื่อพัฒนากระบวนการความปลอดภัยชีวภาพ ต่อโรคปากและเท้าเปื่อยในฟาร์มสุกรพ่อแม่พันธุ์ |
ปี พ.ศ. 2551 |
11 |
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาและการแสดงออกของตัวรับฮอร์โมนเพศเมีย ในท่อนำไข่กระบือปลักตามวงรอบการเป็นสัด |
12 |
ผลกระทบของอุณหภูมิและความชื้น ที่มีต่อสมรรถภาพการผลิตของแม่สุกรอุ้มท้อง ภายในระบบการเลี้ยงในโรงเรือนที่ต่างกันในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2550 |
13 |
การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
14 |
การพัฒนาระบบการจัดการและประกันคุณภาพการปลอดเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยตลอดขั้นตอนการผลิตผลิตภัณฑ์สุกร |
15 |
การพัฒนาระบบการจัดการและประกันคุณภาพ การปลอดเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อย ตลอดขั้นตอนการผลิต ผลิตภัณฑ์สุกร |
ปี พ.ศ. 2548 |
16 |
สมรรถภาพทางระบบสืบพันธุ์ของแม่สุกรในฟาร์มขนาดเล็กก่อนและหลังการใช้ผสมเทียม |
17 |
การศึกษาการกระจายตัวของอสุจิหลังการผสมเทียมแบบการสอดท่อเข้ามดลูกหรือเข้าปีกมดลูกสุกร : รายงานผลการวิจัย (ฉบับสมบูรณ์) |
ปี พ.ศ. 2547 |
18 |
การเก็บโอโอไซต์ด้วยการเจาะผ่านช่องคลอด โอพียูในแม่กระบือปลักที่มีวงจรการเป็นสัดปกติและในแม่กระบือเลี้ยงลูก |
ปี พ.ศ. 2546 |
19 |
ผลของสภาวะการเลี้ยงโอโอไซต์ต่อการปฏิสนธินอกร่างกายของลูกโคก่อนวัยเจริญพันธุ์ : รายงานผลการวิจัย |
ปี พ.ศ. 2545 |
20 |
ผลของระยะหย่านมถึงเป็นสัดต่อลักษณะการเป็นสัดและเวลาตกไข่ในแม่สุกร |
21 |
ผลของขนาดของแรงดูดสูญญากาศต่อการเก็บโอโอไซต์ ด้วยเครื่องมือคลื่นเสียงความถี่สูงสอดผ่านทางช่องคลอดจากกระบือปลักไทย : รายงานผลการวิจัย |
22 |
การศึกษาอัตราการอยู่รอดของตัวอ่อนนับตั้งแต่ตกไข่จนกระทั่งถึงคลอดในแม่สุกรท้องแรกพันธุ์แลนด์เรซและพันธุ์ยอร์คเซีย |
ปี พ.ศ. 2544 |
23 |
การศึกษาการเก็บโอโอไซต์ซ้ำด้วยเทคนิคใช้เครื่องมือคลื่นความถี่สูงสอดเข้าทางปากช่องคลอดในลูกกระบือปลักก่อนวัยเจริญพันธุ์ : รายงานผลงานวิจัย |
24 |
การเปรียบเทียบการใช้โอโอไซต์ที่ยังไม่พร้อมปฏิสนธิและพร้อมปฏิสนธิทั้งชนิดสดแช่สารละลายเกลือและแช่แข็งในการทดสอบการเจาะผ่านของตัวอสุจิสุกร |
25 |
ผลของการเก็บซ้ำและระดับความดันที่มีต่ออัตราการเก็บและคุณภาพของโอโอโซต์ ในการเก็บโอโอไซต์ด้วยวิธีโอพียูในกระบือปลัก |
26 |
การใช้โอไอไซต์ชนิดสดแช่สารละลายเกลือและแช่แข็งที่ยังไม่พร้อมปฏิสนธิและพร้อมปฏิสนธิ เพื่อตรวจสอบความสามารถในการปฏิสนธิของตัวอสุจิพ่อสุกร |
ปี พ.ศ. 2543 |
27 |
การใช้โอโอไซต์ชนิดสด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งที่ยังไม่พร้อมปฏิสนธิ และพร้อมปฏิสนธิเพื่อตรวจสอบความสามารถในการปฏิสนธิของตัวอสุจิพ่อสุกร |
28 |
การศึกษาเปรียบเทียบจำนวนตัวอสุจิในปีกมดลูกและท่อนำไข่ของสุกรสาว ในชั่วโมงที่ 3 และ 12 ภายหลังการผสมเทียม โดยแบ่งและไม่แบ่งส่วนน้ำเชื้อเจือจาง |
29 |
ผลของการเสริมโครเมียมยีสต์ในอาหารต่อสมรรถภาพของระบบสืบพันธุ์ในแม่สุกร |
ปี พ.ศ. 2541 |
30 |
การแช่เย็นและการแช่แข็งตัวอ่อนสุกร : รายงานผลการวิจัย |
31 |
การแช่เย็นและการแช่แข็งตัวอ่อนสุกร |
ปี พ.ศ. 2540 |
32 |
การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในด้านเนื้อสุกรชำแหละ และผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปที่สำคัญในประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
ปี พ.ศ. 2539 |
33 |
การผลิตตัวอ่อนจากการปฏิสนธินอกร่างกายของโอโอไซต์ที่เก็บจากรังไข่ลูกโค : รายงานผลการวิจัย |
34 |
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิสนธินอกร่างกายในสุกร : ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเตรียมโอโอไซต์และการเตรียมตัวอสุจิ : รายงานผลการวิจัย |
35 |
การศึกษาผลของคุณภาพน้ำเชื้อและระยะเวลาในการเก็บน้ำเชื้อ ต่อความสำเร็จในการปฏิสนธินอกร่างกายในสุกร : รายงานผลการวิจัย |
36 |
การปฏิสนธินอกร่างกายในลูกโคก่อนวัยเจริญพันธุ์ |
37 |
ผลของการเก็บรักษาน้ำเชื้อสุกรต่อการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย |
38 |
การศึกษาผลของคุณภาพน้ำเชื้อและระยะเวลาในการเก็บน้ำเชื้อต่อความสำเร็จในการปฏิสนธินอกร่างกายในสุกร |
ปี พ.ศ. 2537 |
39 |
การใช้ฮอร์โมนโกนาโดโทรปินเพื่อกระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิลในรังไข่ของลูก กระบือปลักก่อนวัยเจริญพันธุ์ : รายงานผลการวิจัย |
40 |
การผลิตตัวอ่อนสุกรโดยการปฏิสนธินอกร่างกาย : รายงานผลการวิจัย |
41 |
ผลของการฉีดอินซูลินช่วงหลังหย่านมต่อการตกไข่ในแม่สุกรท้องแรก |
ปี พ.ศ. 2536 |
42 |
การศึกษาการเจริญของตัวอ่อนสุกรภายหลังฝากชั่วคราวในท่อนำไข่กระต่ายและนำฝากในสุกรตัวรับ : รายงานผลการวิจัย |
43 |
การศึกษาการเจริญของตัวอ่อนสุกรภายหลังฝากชั่วคราวในท่อนำไข่กระต่ายและนำฝากในสุกรตัวรับ |
ปี พ.ศ. 2534 |
44 |
การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝากในสกุรตัวรับ : รายงานผลการวิจัย |
45 |
การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝาก ในสุกรตัวรับ |
46 |
การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกรหลังเพาะเลี้ยงและย้ายฝาก ในสุกรตัวรับ |
ปี พ.ศ. 2533 |
47 |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |