ปี พ.ศ. 2554 |
1 |
ผลของการคุกคามจากภาพในความคิด การเห็นคุณค่าในตนเอง และรูปแบบการอนุมานสาเหตุต่อผลงานด้านคณิตศาสตร์ในนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ปี พ.ศ. 2553 |
2 |
การทำนายความไม่สอดคล้องระหว่างเจตคติต่อกลุ่มทางการเมืองในประเทศไทยที่วัดโดยตรงกับที่วัดโดยนัย ด้วยตัวแปรการกำกับการแสดงออกของตนและบุคลิกภาพแบบเมคคิเวลเลียน |
3 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบของผู้นำต่อผลงาน ความไว้วางใจในตัวผู้นำและความคาดหวังที่จะเติบโตในงานของผู้ตาม โดยมีความเป็นผู้นำแบบนักปฏิรูปของผู้นำเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
4 |
อิทธิพลของรูปแบบภาวะผู้นำและสถานการณ์ความขัดแย้งต่อรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของตำรวจชั้นสัญญาบัตรจากสถานีตำรวจนครบาล |
5 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุอิงทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนของพฤติกรรมการสมัครเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
6 |
การทำนายความชื่นชอบงานโฆษณาที่วางกรอบสารต่างกันจากความเป็นปัจเจกนิยม-คติรวมหมู่โดยมีเป้าหมายการควบคุมของบุคคลเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
7 |
การทำนายความไม่สอดคล้องระหว่างเจตคติต่อกลุ่มทางการเมืองในประเทศไทยที่วัดโดยตรงกับที่วัดโดยนัย ด้วยตัวแปรการกำกับการแสดงออกของตนและบุคลิกภาพแบบแมคคิเวลเลียน |
8 |
การทำนายความชื่นชอบงานโฆษณาที่วางกรอบสารต่างกันจากความเป็นปัจเจกนิยม-คติรวมหมู่โดยมีเป้าหมายการควบคุมของบุคคลเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
9 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบของผู้นำต่อผลงาน ความไว้วางใจในตัวผู้นำ และความคาดหวังที่จะเติบโตในงานของผู้ตาม โดยมีความเป็นผู้นำแบบนักปฏิรูปของผู้นำเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
10 |
อิทธิพลของรูปแบบภาวะผู้นำและสถานการณ์ความขัดแย้งต่อรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของตำรวจชั้นสัญญาบัตรจากสถานีตำรวจนครบาล |
11 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุอิงทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนของพฤติกรรมการสมัครเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2552 |
12 |
โมเดลเชิงสาเหตุของการปฎิบัติงานแบบกลุ่ม : อิทธิพลของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ส่งผ่านความรู้เกี่ยวกับการทำงานแบบกลุ่ม บุคลิกลักษณะผัดวันประกันพรุ่ง และปฏิสัมพันธ์ |
13 |
อิทธิพลของความต้องการทางปัญญา และความสอดคล้องของข้อความเตือนกับภาพโฆษณาเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ต่อการประเมินคุณภาพและเจตคติต่อชิ้นงานโฆษณาเบียร์ |
14 |
โมเดลเชิงสาเหตุของการปฏิบัติงานแบบกลุ่ม : อิทธิพลของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ส่งผ่านความรู้เกี่ยวกับการทำงานแบบกลุ่มบุคลิกลักษณะผัดวันประกันพรุ่ง และปฏิสัมพันธ์ |
15 |
อิทธิพลของความต้องการทางปัญญา และความสอดคล้องของข้อความเตือนกับภาพโฆษณาเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ต่อการประเมินคุณภาพและเจตคติต่อชิ้นงานโฆษณาเบียร์ |
ปี พ.ศ. 2551 |
16 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขเชิงอัตวิสัยในเกษตรกร |
17 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการอธิบายและความสุขเชิงอัตวิสัยของนิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
18 |
อิทธิพลของการเปรียบเทียบทางสังคมและรายได้ต่อความสุขเชิงอัตวิสัย |
19 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการอธิบาย และความสุขเชิงอัตวิสัยของนิสิต ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
20 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับความสุขเชิงอัตวิสัยในเกษตรกร |
ปี พ.ศ. 2549 |
21 |
พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์และการแสวงหาการสัมผัสของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรี : การศึกษาตามแนวรูปแบบบูรณาการของการเปลี่ยนพฤติกรรม |
22 |
อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการคุมคามจากภาพในความคิดต่อผลงานด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
23 |
ผลของการสนับสนุนทางสังคมและความเด่นชัดของกลุ่มต่อการลดความไม่คล้องจองของพฤติกรรมการช่วยเหลือ |
24 |
การทำนายความพึงพอใจในงาน และความผูกพันทางจิตใจต่อองค์การจากภาวะผู้นำแบบนักปฏิรูป โดยมีความชอบพอผู้นำเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
25 |
วัฒนธรรม เพศ และรูปแบบการจัดการกับความขัดแย้ง : การเปรียบเทียบระหว่างนิสิตนักศึกษาไทยและอเมริกัน |
ปี พ.ศ. 2548 |
26 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการแสวงหาการสัมผัส ความก้าวร้าวและความปรารถนาในการใช้สื่อที่รุนแรงเพื่อความบันเทิงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
27 |
ปัจจัยทางสังคม-จิตวิทยา และลักษณะทางประชากรที่เกี่ยวข้องกับชาตินิยมของผู้บริโภค |
28 |
การทดสอบการเชื่อมโยงโดยนัย : วิธีใหม่ในการวัดเจตนาคติและปัญญาทางสังคม เมื่อประยุกต์ใช้ในสถานการณ์กลุ่มที่มีองค์ประกอบความเป็นกลุ่มน้อยที่สุด |
ปี พ.ศ. 2547 |
29 |
อิทธิพลของกลุ่มที่มีองค์ประกอบความเป็นกลุ่มน้อยที่สุดต่อความลำเอียง ระหว่างกลุ่มที่วัดโดยตรงและโดยนัยและการประเมินคุณภาพผลงาน ของสมาชิกกลุ่มตนและกลุ่มอื่นในผู้ที่มีความต้องการทางปัญญาสูงและต่ำ |
30 |
ผลของการลิดรอนเสรีภาพกับความสำนึกในตนเองแบบบุคคลต่อปฏิกิริยาทางจิต |
31 |
การทำนายผลการปฏิบัติงานของผู้ตาม โดยการประเมินความเป็นผู้นำนักปฏิรูป และความเป็นผู้นำนักแลกเปลี่ยน |
ปี พ.ศ. 2546 |
32 |
ผลของอารมณ์ ความเกี่ยวข้องส่วนบุคคล และคุณภาพของข้อโต้แย้งต่อการตอบสนองต่อสารโน้มน้าวใจ |
33 |
รูปแบบความผูกพันกับการอนุมานสาเหตุการกระทำ ของตนเองและผู้อื่นในสถานการณ์ทางลบ |
ปี พ.ศ. 2545 |
34 |
ผลของความชอบความคงเส้นคงวาและการรับรู้ความมีอิสระ ในการเขียนเรียงความต่อต้านเจตคติต่อความไม่คล้องจองของปัญญา |
35 |
ผลของสารขู่และความชอบความคงเส้นคงวาต่อปฏิกิริยาทางจิต |
36 |
ผลของวิธีการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจต่อเจตคติ ความเชื่อ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม เจตนา และพฤติกรรมของมารดา ที่เจตนาจะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หรือเลี้ยงลูกด้วยนมผสม |
37 |
การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของคนไทย กับกระบวนการทางสังคมประกิตของครอบครัวในปัจจุบัน ที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ : รายงานผลการวิจัย |
38 |
บทปริทัศน์บทความเรื่อง ลักษณะการวิจัยทางจิตพฤติกรรมศาสตร์ที่สามารถชี้นำการพัฒนาบุคคลอย่างครบวงจร |
ปี พ.ศ. 2544 |
39 |
การทดลองภาคสนามเกี่ยวกับความแตกต่างทางเพศในพฤติกรรมการช่วยเหลือจำแนกตามทักษะในการให้ความช่วยเหลือของแต่ละเพศ |
40 |
ความไวต่อการโน้มน้าวใจทางอารมณ์ความรู้สึก และทางปัญญาของเจตคติที่มีพื้นฐานทางอารมณ์ความรู้สึก และทางปัญญา |
ปี พ.ศ. 2543 |
41 |
อิทธิพลของความต้องการทางปัญญา คุณภาพของสาร และความดึงดูดใจของภาพประกอบ ที่มีต่อเจตคติต่อชิ้นงานโฆษณาประชาสัมพันธ์และองค์การผู้โฆษณา |
42 |
บทปริทัศน์บทความเรื่อง การวิจัยสาขาจิตพฤติกรรมศาสตร์ในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2540 |
43 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อว่าโลกนี้มีความยุติธรรม กับความรู้สึกที่ดีเชิงอัตวิสัยของนิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
44 |
ผลของการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจสามแบบต่อการเปลี่ยนเจตคติ ความเชื่อ เจตนา และพฤติกรรมของผู้สูบบุหรี่ ในการเซ็นชื่อเข้าหน่วยรักษาผู้ติดบุหรี่ |
ปี พ.ศ. 2539 |
45 |
อิทธิพลของความเกี่ยวข้องส่วนบุคคล ความน่าเชื่อถือของแหล่งและคุณภาพของข้อโต้แย้ง ที่มีต่อเจตคติต่อการใช้เข็มขัดนิรภัย |
46 |
ผลของความต้องการทางปัญญา คุณภาพของสาร และความยากง่ายในการอ่านของลายมือต่อเจตคติต่อเรียงความ |
47 |
การเข้าถึงเจตคติต่อการบริโภคสินค้าไทย ภายหลังกระบวนการการรับรู้ตนเองและการเสริมความมั่นคงของเจตคติ |
ปี พ.ศ. 2538 |
48 |
การทดลองภาคสนามเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างเพศในพฤติกรรมการช่วยเหลือ |
49 |
อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตน ตัวแปรแหล่งและคุณภาพของข้อโต้แย้งที่มีต่อการประเมินสินค้า |
50 |
การสำรวจความเชื่อ เจตคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม เจตนา และพฤติกรรมการบริจาคโลหิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน |
ปี พ.ศ. 2534 |
51 |
ความเชื่อเกี่ยวกับความยุติธรรมที่เกิดจากผลกรรมตามสนองตามทฤษฎีของพีอาเจต์ของเด็กอายุ 6 ถึง 12 ปี |
52 |
ผลของการเสนอความน่ากลัว การให้คำแนะนำอย่างละเอียดโดยใช้วีดิทัศน์ และการให้เอกสารแนะนำต่อความเชื่อด้านสุขภาพ ความตั้งใจที่จะปฏิบัติและความรู้เกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ของนิสิตหญิงระดับปริญญาตรี |
53 |
การเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล และความพึงพอใจในงานของพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่มีอายุ ตำแหน่ง และระดับการศึกษาแตกต่างกัน |
54 |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำและการรับรู้สภาพการปฏิบัติงาน ของผู้จัดการสาขาธนาคารออมสิน |
55 |
การทำนายความพึงพอใจในงานของพนักงานฝ่ายปฏิบัติการภาคพื้นบริษัทการ บินไทย จำกัด ด้วยคะแนนการกำกับการแสดงออกของตน |
56 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการอธิบาย และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2533 |
57 |
การสำรวจความเชื่อ เจตคติ เจตนา และพฤติกรรมการเลือกศึกษาต่อสายสามัญหรือสายอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานคร ตามแนวทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล |
ปี พ.ศ. 2530 |
58 |
การเปรียบเทียบรูปแบบของฟิชไบน์กับรูปแบบของทรัยแอนดิส ในการศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ของครูและผู้นำท้องถิ่น ในเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดขอนแก่น ในวันที่ 28 ธันวาคม 252 |
59 |
ลักษณะของชายและหญิงในปัจจุบันและลักษณะที่พึงปรารถนาของชายและหญิง ตามการรับรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2529 |
60 |
การทำนายพฤติกรรมการเลือกสมัครสอบเข้าเรียนต่อคณะวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร |
61 |
ผลของการลิดรอนเสรีภาพที่มีต่อการต่อต้านทางจิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
62 |
การทำนายและการทำความเข้าใจ เจตนาและพฤติกรรมการให้นมบุตรของมารดา ตามแนวทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล |
ปี พ.ศ. 2528 |
63 |
ผลของตัวแบบสัญลักษณ์ที่มีต่อพฤติกรรมเอื้อเฟื้อ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 |
64 |
ปฏิกิริยาจริยธรรมของนักเรียน ครู และผู้ปกครองต่อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของผู้อื่น |
65 |
ปฏิกิริยาจริยธรรมของนักเรียน ครู และผู้ปกครองต่อพฤติกรรมทางการเมืองของผู้อื่น |
66 |
ปฏิกิริยาจริยธรรมของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง ต่อพฤติกรรมทางสังคมของผู้อื่น |
ปี พ.ศ. 2527 |
67 |
จริยธรรมชาวกรุงเทพมหานครปัจจุบัน : รายงานผลการวิจัย |
68 |
การทดลองกับนักศึกษามหาวิทยาลัยเกี่ยวกับผลของการช่วยตนเองไม่ได้ ที่เกิดจากการเรียนรู้ที่มีต่อความมั่นใจในการทำงานและผลในภายหลัง |
69 |
จริยธรรมชาวกรุงเทพมหานครปัจจุบัน |
ปี พ.ศ. 2525 |
70 |
ปฏิกิริยาจริยธรรมของนักเรียน ครู และผู้ปกครองต่อพฤติกรรมต่อตนเองของผู้อื่น |
71 |
ปฏิกิริยาจริยธรรมของนักเรียน ครู และผู้ปกครองต่อพฤติกรรมของผู้อื่นที่กระทำต่อสิ่งแวดล้อม |
ปี พ.ศ. 2523 |
72 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าทางอารมณ์กับพฤติกรรมการช่วยเหลือ |